Page 51 - E-Waste
P. 51
C 1 2 3 4 5 6
47
4.�ด้านอุตสาหกรรมและพาณิชย์
ำ
การสนับสนุนด้านเงินทุนและเทคโนโลยีเป็นปัญหาสาคัญของ
การจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน กล่าวคือ แม้ในการจัดการ
การรีไซเคิลซากอิเล็กทรอนิกส์น้นมีหลายกรรมวิธี เช่น การบดแยกหรือ
ั
ั
ำ
การใช้ความร้อน แต่ทุกกรรมวิธีน้นล้วนแล้วแต่ต้องใช้เงินลงทุนจานวน
ึ
ื
มาก เน่องจากต้องพ่งพาเคร่องจักรและเทคโนโลยีประสิทธิภาพสูงจาก
ื
ำ
ต่างประเทศซ่งมีราคาสูง ทาให้ภาคเอกชนไม่กล้าลงทุน นอกจากน้ ี
ึ
กฎหมายและแนวนโยบายของประเทศยังไม่มีการสนับสนุนการจัดการ
ซากอิเล็กทรอนิกส์อย่างชัดเจน ประกอบกับการมีนโยบายส่งเสริมการ
ิ
่
้
ำ
้
้
ั
ิ
ุ
ลงทนจากตางชาตให้เขามาตงฐานการผลตในประเทศไทย ทาใหเอกชน
ส่วนใหญ่นิยมเป็นฐานการผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ และเป็นฐานการรับ
ื
ส่งซากอิเล็กทรอนิกส์เพ่อรวบรวมไปยังบริษัทแม่ในต่างประเทศ
มากกว่าจะคิดค้นเทคโนโลยีการผลิตของตนเอง ซ่งจะทาให้ราคาสินค้า
ำ
ึ
ึ
สูงข้น ไม่สามารถแข่งขันกับต่างชาติได้ การพัฒนาของอุตสาหกรรม
การรีไซเคิลและการจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์จึงไม่เติบโตเท่าที่ควร
ิ
ื
การพัฒนาของเทคโนโลยีเพ่อเพ่มประสิทธิภาพของการจัดการ
ิ
ซากอิเล็กทรอนิกส์ให้มีประสิทธิภาพ และลดผลกระทบต่อส่งแวดล้อม
ื
น้นยังมีผลต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอีกด้วย เน่องจากผ้ประกอบการ
ั
ู
ั
ำ
มีการนาเอาเทคโนโลยีเหล่าน้นไปใช้งานและมีการจัดการจริง ทาให้เกิด
ำ
ี
การแข่งขันทางด้านเทคโนโลยีท่มีศักยภาพเหมาะสม มีค่าใช้จ่ายน้อย
ที่สุดและสร้างกำาไรในเชิงพาณิชย์ให้ได้มากที่สุด โดยการยกระดับการ
ั
ิ
พัฒนาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศน้น ต้องเร่มจากการ
ั
เลือกสรรอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ท่ดีท้งในแง่ของการจัดการ และ
ี
ด้านสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นทั้งในและนอกประเทศ พร้อมทั้ง
คานึงถึงปัญหาและผลกระทบท่เกิดจากบริษัทน้นๆ โดยอาจจะใช้วิธีการ
ำ
ี
ั
ำ
ุ
ื
ทางเศรษฐศาสตร์เพ่อวัดความค้มค่าจากการใช้ทรัพยากร และมีการนา
เอาต้นทุนทางสุขภาพมาคำานวณด้วย