Page 22 - E-Waste
P. 22
18 E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ื
ิ
ประเทศจีนมีประกาศใช้ระเบียบการควบคุมมลพิษจากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยเร่มบังคับใช้เม่อ 1 มีนาคม
ิ
ุ
ิ
่
่
่
ุ
ั
ี
ื
์
้
ี
็
ุ
่
พ.ศ. 2550 มวตถประสงคเพอควบคมและลดมลพษตอสงแวดลอม โดยมกระทรวงสารสนเทศอตสาหกรรมเปนหนวยงาน
รับผิดชอบหลักและเป็นผู้ประสานงานกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ในการดำาเนินงานและบัญญัติข้อบังคับต่างๆ เกี่ยวกับ
์
ั
ี
ี
์
ี
ั
ิ
ี
ิ
็
การจดการซากอุปกรณ์ไฟฟ้าและอเลกทรอนกส นอกจากน้ยงมหน้าท่รณรงคให้ภาคอุตสาหกรรมระบุเก่ยวกบการ
ั
ควบคุมสารต้องห้ามและช่วงเวลาปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ลงบนสินค้าต่างๆ ซ่งเป็นข้อบังคับให้มีการติดฉลากแจ้ง
ึ
ำ
ำ
ข้อมูลต่างๆ ของสินค้า ซ่งมีผลครอบคลุมต้งแต่การผลิตสินค้าไปจนถึงการจาหน่าย และยังรวมถึงการนาเข้าสินค้าใน
ึ
ั
ู
ุ
กล่มอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ส่ตลาดภายในประเทศจีนด้วย แต่ไม่ได้มีผลบังคับกับการผลิตผลิตภัณฑ์เพ่อ
ื
การส่งออกแต่อย่างใด
ประเทศเกาหลีใต้มีนโยบายในการจัดการของเสียโดยยึดหลักนโยบาย 3R มาตั้งแต่ พ.ศ. 2536 โดยประกาศ
นโยบายการลดของเสียจากบรรจุภัณฑ์และนโยบาย Material and Workmanship Improvement System ซึ่ง
ี
เก่ยวกับการปรับปรุงวัสดุของผลิตภัณฑ์ในการผลิตของอุตสาหกรรมรถยนต์และผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ และในปี
พ.ศ. 2546 ได้มีนโยบาย Extended Producer Responsibility (EPR) System โดยผู้ผลิตต้องเป็นผู้รับผิดชอบใน
การรีไซเคิลผลิตภัณฑ์ของตน ซ่งในปัจจุบันได้มีการครอบคลุมผลิตภัณฑ์แล้ว 17 รายการ และในเดือนกุมภาพันธ์
ึ
พ.ศ. 2549 ได้ประกาศร่างนโยบายเรื่องการรีไซเคิลทรัพยากรในผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์และรถยนต์ และได้มี
การประกาศใช้เมื่อ 2 เมษายน พ.ศ. 2550 โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 เป็นต้นไป
ี
ุ
ำ
ประเทศญ่ป่นมีการจัดการโดยการดาเนินการโดยยึดหลักแนวคิด 3Rs และหลักการ Extended Producer
็
้
Responsibility (EPR) โดยไดมการร่างกฎหมายหลักซงเปนกรอบของกฎหมายสาหรบการจดการขยะและการ
ึ
่
ำ
ั
ั
ี
ส่งเสริมการนำากลับมาใช้ใหม่คือ “Fundamental Law for Establishing a Sound Material-Cycle Society”
ำ
เพ่อเป็นการสนับสนุนให้สังคมมีการนาวัสดุกลับมาใช้ใหม่ เพ่อลดการบริโภคทรัพยากรธรรมชาติและลดมลพิษต่อ
ื
ื
สิ่งแวดล้อม โดยเป็นการกำาหนดกรอบโครงสร้างหลัก การจัดลำาดับความสำาคัญ และระบุหน้าที่ความรับผิดชอบของ
รัฐบาลกลางองค์กรส่วนท้องถิ่น ภาคธุรกิจ และผู้บริโภค และมีความมุ่งหมายให้มีการรีไซเคิลซากผลิตภัณฑ์ และยัง
มีระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับแนวทางในการจัดการซากอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คือ แนวปฏิบัติในการจัดการ
ของเสียและการรีไซเคิลซากอุปกรณ์ การติดฉลากรักษ์สิ่งแวดล้อมบนผลิตภัณฑ์ และแนวคิดการออกแบบผลิตที่เป็น
มิตรต่อสิ่งแวดล้อม
1.3�สถานการณ์การจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศ
ั
้
ี
ิ
์
ั
ั
ำ
ั
ื
ั
สาหรบในประเทศไทยนนการจดการซากอปกรณไฟฟาและอเลกทรอนกสยงไม่มกฎหมายหรอพระราชบญญติ
็
ุ
้
ั
ิ
์
ุ
ี
่
ำ
้
็
์
้
ี
ี
ั
ทเกยวของโดยตรง แตมกฎหมายบางฉบบทสามารถนามาเปนแนวทางหรอมาตรการในการจดการซากอปกรณไฟฟา
ื
่
่
ี
ั
่
และอิเล็กทรอนิกส์ได้คือ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติ