Page 23 - E-Waste
P. 23

C       1        2       3       4       5        6
                                                                                                       19




               โรงงาน พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย

               (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2548


                      ู
                     ผ้ประกอบการอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยยังไม่มีมาตรการหรือนโยบายการเรียกคืนสินค้าท  ี ่
               เป็นซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากไม่มีการกำาหนดไว้ในพระราชบัญญัติต่างๆ ซึ่งต้องมีการกำาหนดให้ผู้ผลิต
               มีส่วนต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการจัดการ การรีไซเคิล หรือการกำาจัดซากอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ โดยอาจจะมีการผลักดัน
                                                                                                ำ
               ร่างกฎหมายจากกฎหมายเดิมให้ครอบคลุม โดยเร่มปรับปรุงจากการควบคุมและบังคับโรงงานให้ทาตามกฎหมาย
                                                         ิ
               ในการปล่อยสารมลพิษออกสู่สิ่งแวดล้อมมาเป็นการใช้หลัก “ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย” เพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ
                                                              ิ
               ผ้ประกอบการโรงงานให้มีความรับผิดชอบต่อการจัดการส่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ และสามารถลดมลพิษจากแหล่ง
                ู
               กำาเนิดมากขึ้น

                                             ิ
                     ศูนย์วิศวกรรมพลังงานและส่งแวดล้อม (2551) ศึกษาวงจรชีวิตของซากอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส  ์
               พบว่า สถานประกอบการที่มีการรับซื้อซากเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยังไม่มีการใช้เทคโนโลยีในการรีไซเคิล

                                  ิ
                                                            ื
               ใช้เพียงการถอดแยกช้นส่วนและองค์ประกอบด้วยเคร่องมืออย่างง่ายและแรงงานคน มีเพียงสถานประกอบการ
               บางแห่ง เช่น บจก.วงษ์พาณิชย์ ที่มีเครื่องจักรในการบดย่อยพลาสติก และ บจก.ยูนิคอปเปอร์เทรด ที่มีการนำาเอา
               แผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์มาแยกโลหะมีค่าออกมา เป็นต้น


                                                         ิ
                     ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการส่งแวดล้อมและของเสียอันตราย (2553) ศึกษาการจัดการซาก
               เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย พบว่ายังไม่ก้าวหน้ามากนัก คืออยู่ในระดับของการสกัดแยกโลหะ
                                              ี
                                                                         ู
                                                                                               ิ
                                                                                                        ั
                                                              ิ
                                         ์
                                                                   ิ
                                                                         ้
               มค่าออกจากซากอิเล็กทรอนิกส และมระบบควบคุมการเกดมลพษโดยผประกอบการชาวไทย ดวยวธีการและข้นตอน
                                                                                            ้
                ี
               การสกัดแยก รวมถึงเทคโนโลยีการบำาบัดสารอันตรายของซากอิเล็กทรอนิกส์ที่แตกต่างกัน มีการลงทุนที่ไม่มากนัก
               และส่วนใหญ่ยังไม่มีกระบวนการจัดการอย่างเต็มรูปแบบ จึงอาจเกิดการปนเปื้อนของสารอันตรายหรือแพร่กระจาย
                                                                                     ู
                  ิ
                ู
               ส่ส่งแวดล้อมได้ ท้งน้การจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์ต้องใช้เงินลงทุนสูง ประกอบกับผ้ประกอบการท่มีศักยภาพใน
                                                                                                 ี
                               ั
                                 ี
               การรีไซเคิลน้นเป็นชาวต่างชาติ และยังไม่มีการเข้ามาดาเนินการด้านการรีไซเคิลในประเทศไทยอย่างเต็มรูปแบบ ซ่ง
                                                                                                            ึ
                                                            ำ
                          ั
               อาจเป็นเพราะข้อกำาหนดและกฎหมายบางฉบับของไทย รวมถึงการยอมรับการจัดการซากจากภาคประชาชน ทำาให้
               ไม่คุ้มค่าการลงทุน
                             ี
                     นอกจากน้ยังพบอีกว่า หากภาครัฐมีการผลักดันให้เกิดกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับในการจัดเก็บและ
                                      ี
               รวบรวมซากอิเล็กทรอนิกส์ท่มีประสิทธิภาพ สามารถทาให้ผ้ประกอบการมีความเช่อม่นในศักยภาพของปริมาณซาก
                                                                                    ั
                                                           ำ
                                                                ู
                                                                                  ื
               อิเล็กทรอนิกส์ที่จะเข้าส่โรงงาน รวมถึงดาเนินการส่งเสริมกล่มธุรกิจการรีไซเคิลอย่างจริงจัง ก็จะทาให้เกิดการพัฒนา
                                                                ุ
                                                ำ
                                                                                              ำ
                                  ู
               ของระบบและกระบวนการรีไซเคิลที่ดีและมีประสิทธิภาพได้
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28