Page 28 - E-Waste
P. 28
24 E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ี
จากรูปท่ 1.3 เป็นการเปรียบเทียบกระบวนการรีไซเคิลซากอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยกับต่างประเทศ
ั
ิ
จะพบว่าในประเทศไทยน้นมีกระบวนการรีไซเคิลแค่การแยกและถอดช้นส่วนองค์ประกอบ เช่น แผงวงจรรวม
ำ
ั
ำ
(integrated circuit: IC) และไดโอด ออกจากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ แล้วทาการส่งออกแผ่นเหล่าน้นไปทาการ
รีไซเคิลหรือจัดการต่อยังต่างประเทศ และมีการบดแยกแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์เหล่าน้นจนได้เป็นผงทองแดงและ
ั
ผงพลาสติก โดยผงทองแดงจะส่งไปยังโรงงานเพื่อหลอมเป็นทองแดงใช้ประโยชน์ต่อไป ในส่วนของผงพลาสติกที่มี
สัดส่วนค่อนข้างมากในการบดแยกนั้น ยังไม่มีการจัดการที่เหมาะสม แต่ได้มีการวิจัยเพื่อนำาไปทำาวัสดุโครงสร้างและ
ั
ำ
ั
นาไปเป็นวัตถุดิบรีไซเคิล ส่วนการรีไซเคิลซากอิเล็กทรอนิกส์ในต่างประเทศน้น จะพบว่ามีกระบวนการท้งการแยก
องค์ประกอบของแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ การบดแยก หรือการแยกด้วยวิธีต่างๆ ทางฟิสิกส์ เคมี และความร้อน
เพื่อให้ได้องค์ประกอบของแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลายชนิด เช่น ทองคำา เหล็ก ทองแดง ที่มีความบริสุทธิ์สูงและ
สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้ดี
ี
จากรูปท่ 1.4 รูปแบบวงจรชีวิตของซากเคร่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย โดยแบ่งออกเป็น
ื
ำ
สองส่วนคือ ส่วนของการนาเข้าวัตถุดิบมาผลิตเป็นสินค้าเคร่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ แล้วขายสินค้าโดยการ
ื
ี
ำ
ื
ส่งออกและบริโภคภายในประเทศ และส่วนท่สองคือการนาเข้าเคร่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์มือสองจากต่างประเทศ
ั
ึ
ื
มาใช้บริโภคภายในประเทศ ซ่งท้งสองส่วนน้นเม่อหมดอายุการใช้งานแล้วซ่อมแซมไม่ได้ จะมีการถอดคัดแยกอุปกรณ ์
ั
่
้
ั
้
ิ
่
ี
ุ
้
ุ
ั
็
ี
่
ิ
่
ั
ิ
่
และชนสวนสงไปยงโรงงานรีไซเคลทงในและตางประเทศ ไดเปนวตถดบทใชในการผลตและเศษวสดทใชประโยชน ์
ิ
้
้
ั
ื
ึ
ี
ำ
ำ
ไม่ได้ซ่งจะถูกนาไปจัดการต่อไป ส่วนเคร่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ท่เสียแต่ยังไม่หมดอายุการใช้งานก็จะถูกนาไป
ี
ซ่อมแซมเพ่อนากลับมาใช้ใหม่อีกคร้ง นอกจากน้ยังมีซากอิเล็กทรอนิกส์บางส่วนท่ไม่ได้รับการจัดการท่เหมาะสม เช่น
ี
ี
ำ
ั
ื
การนำาไปทิ้งรวมกับขยะชุมชน การเก็บกักไว้ในบ้านและการทิ้งในที่สาธารณะต่างๆ
ื
จากรูปท่ 1.5 แสดงถึงวัฏจักรชีวิตซากผลิตภัณฑ์เคร่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยแบ่งออกเป็น
ี
สามระดับคือ 1)การเกิดของเสีย จากการบริโภคสินค้าที่เกิดจากการผลิต การนำาเข้า และการส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้า
และอิเล็กทรอนิกส์ที่หมดอายุการใช้งานหรือใช้งานไม่ได้ทำาให้เกิดการทิ้งซากเหล่านั้นออกมา 2) การจัดการขั้นที่ 1
เป็นกระบวนการแรกที่จะจัดการกับซากที่เกิดขึ้นโดยการปรับปรุงซ่อมแซม การทิ้ง การเก็บกักไว้ที่แหล่งกำาเนิด หรือ
ั
ู
ึ
ี
ำ
การเก็บรวบรวมโดยตัวแทนจาหน่าย ซ่งกระบวนการเหล่าน้เกิดจากผ้บริโภคหรือผ้ผลิตซากอิเล็กทรอนิกส์เหล่าน้น
ู
และ 3) การจัดการขั้นที่ 2 เป็นการจัดการต่อจากกระบวนการของการจัดการขั้นที่ 1 โดยการบำาบัด การฝังกลบและ
กระบวนการรีไซเคิลซากอิเล็กทรอนิกส์เหล่านั้นให้กลายเป็นวัตถุดิบที่มีค่าสามารถนำากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้