Page 59 - E-Waste
P. 59

C       1        2       3       4       5        6
                                                                                                       55




               3.1�โลหะวิทยาความร้อนสูง�(pyrometallurgy)

                     โลหะวิทยาความร้อนสูงเป็นเทคโนโลยีพ้นฐานของการทาเหมืองแร่ ใช้เพ่อแยกโลหะนอกกล่มเหล็กออกมา
                                                                   ำ
                                                                                                 ุ
                                                      ื
                                                                                 ื
                 ่
                                                                                 ื
                 ึ
                          ำ
                                                          ี
                                                          ่
                                                       ่
                                                            ู
                                    ์
                                      ้
                                                            ่
                                                                                   ำ
                                                                                            ้
                                                                                                          ิ
               ซงสามารถนามาประยุกตใชกับการแยกโลหะมีคาทอยในซากแผ่นวงจรพิมพ์เพ่อนากลับมาใชใหม่ได้เช่นกัน วธีน  ้ ี
               จะใช้ความร้อนในการหลอมและเผา โดยถ้าวัสดุมีสารประกอบโลหะออกไซด์ เมื่อถูกหลอมกับตัวรีดิวซ์ เช่น คาร์บอน
               (จากถ่านโค้กหรือถ่านหิน) จะเกิดปฏิกิริยารีดักชันกับสารประกอบโลหะออกไซด์ ทำาให้เกิดการรวมตัวกับออกซิเจน
               ได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กระบวนการนี้ใช้หลักการพื้นฐานทางด้านโลหะวิทยาในการแยกธาตุโดยใช้เตาไฟฟ้าชนิด
               แท่งความร้อน (heater furnace) หรือการเหนี่ยวนำาไฟฟ้า (induction furnace) และใช้น้ำามันเตา น้ำามันดีเซล หรือ
               ก๊าซธรรมชาติ เป็นเชื้อเพลิง ที่อุณหภูมิ 700-1,200 องศาเซลเซียส ขึ้นอยู่กับชนิดของโลหะที่นำามาหลอม ในขั้นแรก
               เม่อซากผลิตภัณฑ์ได้รับความร้อนจากเตา  จะทาให้สารประกอบต่างๆ  ในซากผลิตภัณฑ์เกิดการสลายตัว
                                                          ำ
                 ื
               (decomposition) จากนั้นอาจมีการเติมฟลักซ์ เช่น โซเดียมคาร์บอเนต (NaCO ) บอแรกซ์ (borax) โปแตสเซียม
                                                                                 4
               ไนเตรท (KNO ) หรือโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เป็นต้น การเติมฟลักซ์นั้นจะช่วยให้หลอมโลหะได้ง่าย และ
                            3
                                                                                                       ื
                                                                                                       ้
                                                        ุ
                                                                                      ่
                                                                                         ำ
                                                               ิ
                                                              ั
                                                                                                            ื
                                                                               ่
                                                                         ่
                          ั
                                       ั
               เกดการแยกตวระหว่างโลหะกบสารปนเปอน ดวยคณสมบตความแตกตางของคาความถวงจาเพาะ สารปนเปอนหรอ
                 ิ
                                                 ื
                                                 ้
                                                     ้
               มลทินต่างๆ จะรวมตัวกันเป็นตะกรัน หรือ สแลก (slag) และแยกตัวออกมา ทำาให้โลหะที่ได้มีความสะอาดมากขึ้น
                                                 ำ
               โดยหากใช้อุณหภูมิสูงอย่างเพียงพอจะทาให้เกิดเป็นของเหลว 3 ส่วน คือ ตะกรัน (slag) แมตต์ (matte) และ
               โลหะ (metal) แยกชั้นกันอยู่
                                                         ื
                     จุดประสงค์หลักของการเติมฟลักซ์นั้นก็เพ่อช่วยให้โลหะหลอมละลายเร็วข้นและช่วยแยกโลหะมลทินท  ี ่
                                                                                     ึ
               ไม่ต้องการออกจากโลหะท่ต้องการในรูปของตะกรัน ซ่งการเลือกชนิดของฟลักซ์ท่เหมาะสมน้นควรเลือกฟลักซ์ท่ทาให ้
                                                                                         ั
                                                          ึ
                                                                                ี
                                                                                                        ี
                                    ี
                                                                                                          ำ
                                                            ี
                                                                                                    ั
               เกิดตะกรันท่ละลายสารมลทินท่ไม่ต้องการออกมามากท่สุดโดยท่ไม่ไปรวมตัวกับโลหะท่ต้องการแยก อีกท้งตะกรันท ่ ี
                          ี
                                                                   ี
                                                                                      ี
                                         ี
               เกิดขึ้นควรมีจุดหลอมเหลวต่ำา ความถ่วงจำาเพาะต่ำา (เมื่อเทียบกับความถ่วงจำาเพาะของโลหะที่ได้จากการถลุง) และ
               ความหนืดต่ำาๆ เพื่อให้ตะกรันมีความสามารถในการไหลที่สูง (high fluidity) พอที่จะไหลแยกตัวออกจากเตาถลุง
               ได้สะดวก และสามารถไหลไปปกคลุมผิวหน้าและสัมผัสโลหะที่หลอมเหลวได้ทั้งหมด ซึ่งตะกรันที่เกิดขึ้นบนผิวหน้า
                            ี
                                                              ี
               ของเตาหลอมน้จะช่วยป้องกันการเกิดออกไซด์ของโลหะท่หลอมเหลวจากการทาปฎิกิริยากับออกซิเจนในบรรยากาศ
                                                                               ำ
               และช่วยลดการสูญเสียความร้อนจากโลหะที่หลอมละลายอีกด้วย นอกจากนี้ในการเลือกชนิดของฟลักซ์ควรคำานึงถึง
               ความสามารถในการทนการกัดกร่อนของผนังเตาหลอมด้วย
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64