Page 61 - E-Waste
P. 61
C 1 2 3 4 5 6
57
โรงถลุง Rönnskår ของบริษัท Boliden Ltd. ประเทศสวีเดน ดังแสดงในรูป 3.2 เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของการ
ประยุกต์กระบวนการแยกโลหะด้วยความร้อนเพ่อฟ้นฟูสภาพโลหะจากขยะอิเล็กทรอนิกส์ เศษซากจะถูกป้อนเข้าส ่ ู
ื
ื
ิ
ั
ึ
กระบวนการในข้นตอนต่างๆ โดยข้นกับความบริสุทธ์ของมัน เศษซากท่มีทองแดงในปริมาณสูงจะถูกป้อนเข้าส ่ ู
ี
กระบวนการคอนเวอร์ติง (converting) โดยตรง แต่ขยะอิเล็กทรอนิกส์เกรดต่ำาๆ จะถูกป้อนเข้าสู่เตาคาลโด (Kaldo
furnace) ซึ่งมีรายงานว่าเศษซาก 100,000 ตัน ที่ประกอบด้วยของเสียจากอิเล็กทรอนิกส์จะถูกป้อนเข้าสู่เตาคาลโด
ั
ี
ทุกปี ในเตาปฏิกรณ์คาลโด วัสดุป้อนเข้าท่ประกอบด้วยขยะอิเล็กทรอนิกส์และหัวแร่ตะก่ว จะถูกขนส่งด้วยกว้าน (skip
hoist) แลนซ์ออกซิเจน (oxygen lance) จะให้แก๊สออกซิเจนที่จำาเป็นสำาหรับการเผาไหม้ด้วยน้ำามัน-ออกซิเจน จากนั้น
ี
ำ
ี
ี
แก๊สท่เกิดจากการเผาไหม้น้จะถูกนาไปเผาต่อท่อุณหภูมิประมาณ 1,200 องศาเซลเซียส ในระบบ post-combustion
ี
วัสดุท่ป้อนเข้าในเตาคาลโด ซ่งถูกเผาไหม้แล้วจะเปล่ยนเป็นอัลลอยของทองแดงซ่งจะถูกส่งไปยังกระบวนการ
ึ
ึ
ี
คอนเวอร์เตอร์เพื่อแยกโลหะ (ทองแดง เงิน ทอง แพลเลเดียม นิกเกิล ซีลีเนียม และสังกะสี) กลับคืนมา สำาหรับฝุ่น
(ที่มีตะกั่ว พลวง อินเดียม และแคดเมียม) จะถูกส่งไปยังกระบวนการอื่นเพื่อนำาโลหะกลับคืนมา
35%
Cu
24%
Cu
5%
Cu
73%
98% Cu
Cu 10%
Cu
98%
Cu
334kg
99.1%
Cu
ที่มา H. Veldbuizen, B. Sippel, Ind. Environ., 1994
รูปที่ 3.1 แผนภาพไดอะแกรมของกระบวนการถลุงด้วย Noranda