Page 67 - E-Waste
P. 67

C       1        2       3       4       5        6
                                                                                                       63




                     2.  การมีสารหน่วงไฟประเภทฮาโลเจน (halogenated flame retardants - HFR) เป็นส่วนประกอบในวัสดุ

                                     ั
                                          ำ
                                                                                ั
                                                                                       ำ
                        ป้อนเข้าโรงถลุงน้นจะทาให้เกิดเป็นสารไดออกซินได้ เว้นแต่จะมีการติดต้งระบบบาบัดอากาศและการตรวจวัด
                        แบบพิเศษ ซึ่งโรงถลุงโลหะแบบเก่าท่ออกแบบเพ่อใช้ถลุงหัวแร่หรือหลอมซากทองแดงธรรมดาน้น
                                                                                                           ั
                                                                   ื
                                                        ี
                        มักจะไม่มีการติดตั้งระบบบำาบัดพิเศษนี้เพราะต้องใช้เงินลงทุนสูง
                                                                                                      ึ
                     3.  องค์ประกอบท่เป็นเซรามิกและแก้วในขยะอิเล็กทรอนิกส์จะเพ่มปริมาณของตะกรันจากเตาถลุง ซ่งตะกรัน
                                                                         ิ
                                    ี
                        ที่เพิ่มขึ้นจะส่งผลให้ปริมาณการแยกของโลหะมีค่าและโลหะพื้นฐานอื่นๆ ลดลง
                            ำ
                     4.  การนาพลังงานกลับคืนมาและการใช้องค์ประกอบท่เป็นสารอินทรีย์มาเป็นตัวรีดิวซ์ทาได้ในข้นเร่มต้นเท่าน้น
                                                                ี
                                                                                                 ั
                                                                                                   ิ
                                                                                          ำ
                                                                                                           ั
                        เนื่องจากอาจส่งผลต่อการกัดกร่อนของระบบบำาบัดอากาศ
                                                                                       ิ
                                                                                        ึ
                                                                                                           ั
                     5.  วิธีแยกโลหะด้วยความร้อนสามารถใช้ในการคัดแยกโลหะให้มีความบริสุทธ์ข้นได้ในระดับหนึ่งเท่าน้น
                                  ิ
                                              ิ
                        ถ้าต้องการเพ่มมูลค่าหรือเพ่มระดับของโลหะให้บริสุทธ์มากข้นอีก ต้องใช้เทคนิคการแยกโลหะด้วยการละลาย
                                                                       ึ
                                                                  ิ
                        ทางเคมี และ/หรือกระบวนการไฟฟ้าเคมีเข้ามาเพิ่มเติมในภายหลัง
                     6.  โลหะมีค่า (เช่น โลหะกล่มแพลทินัมและซีลีเนียม เทลลูเลียม อินเดียม) จะอย่ในกระบวนการแยกโลหะด้วย
                                                                                     ู
                                           ุ
                                                                                                     ึ
                                                ี
                        ความร้อนเป็นเวลานาน ก่อนท่จะถูกนาเข้าส่การเก็บกลับคืนมาในช่วงท้ายสุดของกระบวนการ ซ่งอาจเกิด
                                                           ู
                                                      ำ
                        ความเสี่ยงต่อการสูญหายของโลหะมีค่าไปในกระบวนการอื่นๆ ได้
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72