Page 69 - E-Waste
P. 69
C 1 2 3 4 5 6
65
3.2�การเผาแบบไพโรไลซิส�(pyrolysis)
การเผาแบบไพโรไลซิส เป็นกระบวนการสลายตัวของสารด้วยความร้อนในสภาวะไร้อากาศ (ไม่มีออกซิเจน)
ในช่วงอุณหภูมิ 500-800 องศาเซลเซียส โดยเกิดการแตกตัวของโมเลกุลในองค์ประกอบ จากสายโมเลกุลยาวไปเป็น
สายโมเลกุลที่สั้นลง โดยทั่วไปจะได้ผลิตภัณฑ์หลัก 3 ชนิด ได้แก่ แก๊ส (คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนอกไซด์
ำ
้
และไฮโดรคาร์บอน) ของเหลว (สารละลายอินทรีย์และนามันดิน (tar)) และของแข็ง (ถ่านไม้) ซ่งสัดส่วนของผลิตภัณฑ ์
ึ
ที่ได้ขึ้นอยู่กับชนิดของสารที่นำาไปเผาและวิธีการให้ความร้อน
ำ
ั
ี
ู
้
การเผาสลายวัสดุอินทรีย์ท่อย่ในซากแผ่นวงจรพิมพ์ด้วยวิธีไพโรไลซิสน้น จะได้ผลิตภัณฑ์ประเภทก๊าซ นามัน
ื
ึ
และถ่านหินออกมา ซ่งนามาใช้เป็นสารเคมีต้งต้นหรือเป็นเช้อเพลิงได้ ในประเทศจีนมีการศึกษาในห้องทดลองอย่บ้าง
ำ
ั
ู
ี
ำ
เก่ยวกับการนาโลหะจากซากแผ่นวงจรพิมพ์กลับมาใช้ใหม่ด้วยการเผาแบบไพโรไลซิส มีรายงานการศึกษาว่า การ
ื
ี
ั
เผาซากแผ่นวงจรพิมพ์แบบไพโรไลซิสเพ่อแยกวัสดุมีค่าออกมาภายใต้สภาพบรรยากาศไนโตรเจนดังรูปท่ 3.5 น้นจะ
มีของเหลวเกิดข้นประมาณ 15–21% ได้ก๊าซประมาณ 15–20% และได้ของแข็งประมาณ 60% ของเหลวท่ได้มีค่าความ
ึ
ี
ั
ำ
้
ร้อนสูง อาจนาไปรีไซเคิลเป็นนามันเช้อเพลิงได้ อย่างไรก็ตามการเผาสลายน้นต้องใช้เงินลงทุนในอุปกรณ์สูงมาก และ
ำ
ื
กากที่ได้เป็นส่วนผสมของสารอินทรีย์และโลหะประเภทต่างๆ ต้องนำาไปคัดแยกต่อไป โดยต้องมีการศึกษาเพิ่มเติม
ถึงความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการนำาของผสมดังกล่าวไปคัดแยก
6
1
3 4 5 10
7
13
8
9
2
12
11
ที่มา H. Kui, G. Jie, X. Zhenming, Journal of Hazardous Materials, 2009
รูปที่ 3.5 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองการเผาแบบไพโรไลซิส (1) กระบอกไนโตรเจน (2) ปั๊มอัดอากาศ (3) มิเตอร์วัดการไหลของก๊าซ
(4) หลอดอบแห้ง (5) หลอดควอตซ์ (6) เตาเผาไฟฟ้า (7) แผ่นควอตซ์ (8) เทอร์โมคัปเปิล (9) เครื่องควบคุมอุณหภูมิ
(10) ท่อควบแน่น (11) ขวดฟลาสก์เก็บรวบรวมสาร (12) สารละลายอัลคาไลน์ (13) ถุงเก็บก๊าซ