Page 111 - E-Waste
P. 111

C       1        2       3       4       5        6
                                                                                                      107




                     มีงานวิจัยหลายโครงการท่เสนอกลไกการดูดซับทางเคมีไว้ เช่น การศึกษารายละเอียดการสร้างพันธะของ
                                           ี
                    ำ
               ทองคาในชีวมวลสาหร่ายโดยใช้วิธีการดูดกลืนรังสีเอกซ์แบบ extended x-ray absorption fine structure (EXAFS)
               และ x-ray absorption near edge structure (XANES) ในปี พ.ศ. 2523 พบว่ากลไกของปฏิกิริยาของเตตระคลอ-
                                                                                ำ
               โรออเรต(III) (tetrachloroaurate) กับ Chlorella vulgaris น้น เป็นการทาปฏิกิริยารีดักชันอย่างรวดเร็วของ
                                                                     ั
                                                      ำ
                                    ำ
               ทองคา(III) ไปเป็นทองคา(I) และตามด้วยการทาปฏิกิริยารีดักชันอย่างช้าๆ ไปเป็นทองคา(0) ซ่งเช่อกันว่าปฏิกิริยา
                    ำ
                                                                                       ำ
                                                                                             ึ
                                                                                                ื
                                          ู
                         ี
               การแลกเปล่ยนลิแกนด์จะนาไปส่การสร้างพันธะระหว่างทองคา(I) และซัลเฟอร์และ/หรือไนโตรเจนท่มีอย่ในสาหร่าย
                                                                                                    ู
                                     ำ
                                                                 ำ
                                                                                                ี
                     มีการศึกษาทางสเปคโตรสโคปีของการดูดซับทางชีวภาพของทองคำา(III) โดยซากสาหร่ายทะเลที่ไม่มีแอลจิเนต
                                             ึ
                                                                       ี
                                         ี
                                                                                              ำ
                                      ำ
               พบว่า คอลลอยด์ของทองคาท่เกิดข้นบนผิวหน้าของสาหร่ายทะเลท่ไม่มีแอลจิเนตเกิดจากการทาปฏิกิริยารีดักชัน
               ของทองคำา(III) ไปเป็นทองคำา(0) ซึ่งตรวจสอบได้จากเครื่อง environmental scanning electron microscope
               (ESEM) และสามารถระบุอนุภาคที่แตกต่างกันทั้ง 4 ชนิดได้อย่างชัดเจนดังรูปที่ 5.3 การวัดด้วยเครื่อง EXAFS
               แสดงว่ามีคอลลอยด์ของทองคำาบนผิวหน้าของสารดูดซับทางชีวภาพ โดยน่าจะเกิดปฏิกิริยารีดักชันของทองคำาจาก
               ทองคำา(III) ไปเป็น ทองคำา(I) และ ทองคำา(0) และจากเลขโคออร์ดิเนชันที่ได้จาก EXAFS พบว่า ทองคำาประมาณ
                                                                 ื
               75% บนตวอย่างแสดงในรปของคอลลอยด์ และทองคาทเหลอจะทาปฏิกิรยากับซลเฟอร์ท่อยใกล้ทสด มีการเสนอ
                                                                                            ่
                                                                            ิ
                                                                                  ั
                                                                                         ี
                                                                                            ู
                                                                      ำ
                                                              ี
                                                                                                 ุ
                        ั
                                     ู
                                                                                                ี
                                                              ่
                                                            ำ
                                                                                                ่
                                 ำ
                                                                                    ำ
                                                                                                          ี
               กลไกของการดึงทองคาออกจากสารละลายว่าน่าจะเกิดจากปฏิกิริยารีดักชันของทองคา โดยองค์ประกอบต่างๆ ท่อย ่ ู
               บนผิวหน้าของสารดูดซับทางชีวภาพ เพื่อเกิดเป็นโลหะคอลลอยด์ และตามด้วยการกักไอออนของทองคำา(I) ไว้ในที่
               ที่มีซัลเฟอร์
                               ี
                     มีรายงานเก่ยวกับกลไกการดูดซับทองคาและแพลเลเดียมโดยการทาปฏิกิริยารีดอกซ์ภายในคอนเดนส์แทน-
                                                                            ำ
                                                     ำ
                                                                                              ำ
               นินเจล (condensed-tannin gel) โดยใช้อนุภาคของเจลแทนนินท่ดูดซับแพลเลเดียมเป็นตัวอย่างสาหรับการวิเคราะห ์
                                                                    ี
               ด้วย x-ray diffraction (XRD) ดังแสดงในรูปที่ 5.4 เพื่อหารูปแบบทางเคมีของแพลเลเดียมที่ถูกดูดซับ พบว่ามี
                                            ี
                                                                                   ึ
               การเกิดผลึกของแพลเลเดียม(0) ท่ถูกรีดิวซ์บนโครงข่ายอนุภาคของเจลแทนนิน ซ่งหมายความว่าแพลเลเดียม(II)
                                                            ี
                                                              ู
               สามารถถูกรีดิวซ์ไปเป็นแพลเลเดียม(0) ได้ ในขณะท่หม่ไฮดรอกซิลของเจลแทนนินจะถูกออกซิไดซ์โดยปฏิกิริยา
               รีดอกซ์ระหว่างการดูดซับ
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116