Page 110 - E-Waste
P. 110
106 E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
(a) (b) (c) (d) (e)
5 µm 3 µm 2 µm 3 µm 2 µm
ที่มา M.E. Romero-Gonz´alez, C.J. Williams, P.H.E. Gardiner, et al., Environ. Sci. Technol., 2003
รูปที่ 5.3 รายละเอียดของอนุภาคทองคำ ชนิดต่างๆ ที่สังเกตได้
(a) เกล็ดรูปเฮกซะโกนอล (b) เตตระฮีดรัล (c) แท่ง (d) รูปร่างไม่ปกติ และ (e) เดคะฮีดรัล
5.2.2�กลไกการดูดซับทางชีวภาพของโลหะมีค่า
การดูดซับทางชีวภาพเป็นกระบวนการท่ซับซ้อนมากกระบวนการหน่ง กล่าวคือจะมีการดูดซับทางกายภาพ
ี
ึ
ี
หรือทางเคมีลงบนผนังเซลล์ หรือวัสดุท่เก่ยวข้องกับเซลล์ นอกจากน้การดูดซับทางชีวภาพก็อาจสัมพันธ์กับ
ี
ี
ี
กระบวนการเมตาโบลิซึมของเซลล์ได้อีกด้วย กลไกทางกายภาพ-เคมี เช่น การแลกเปล่ยนไอออน การเกิดสารเชิงซ้อน
การเกิดโคออร์ดิเนชัน (coordination) และการเกิดคีเลชัน (chelation) ระหว่างไอออนของโลหะและลิแกนด์ (ligands)
ึ
ั
น้นข้นกับสมบัติเฉพาะตัวของชีวมวลแต่ละชนิด สาหรับกลไกการแยกโลหะออกแบบอ่นๆ จะข้นกับเมตาโบลิซึม ได้แก่
ื
ึ
ำ
การตกตะกอนโลหะเป็นซัลไฟด์หรือฟอสเฟต การดูดซับโดยการสร้างพันธะระหว่างโลหะกับโปรตีน เปปไทด์ หรือ
ไซเดอโรฟอร์ (siderophores) การขนส่ง (transport) และการแยกส่วนภายใน (internal compartmentalization)
การดูดซับทางชีวภาพของโลหะมีค่าจากสารละลาย สามารถอธิบายอย่างง่ายในลักษณะท่เป็นกลไกการดูดซับ
ี
ทางเคมีและกลไกการดูดซับทางกายภาพ โดยกลไกการดูดซับทางเคมีประกอบด้วย การสร้างสารเชิงซ้อน การเกิด
ี
ำ
คีเลชีน การตกตะกอนระดับเล็ก (microprecipitation) และการทาปฏิกิริยารีดักชันของจุลินทรีย์ ในขณะท่กลไก
การดูดซับทางกายภาพมักจะเกี่ยวข้องกับแรงทางไฟฟ้าสถิตและการแลกเปลี่ยนไอออน
ำ
ี
มีการศึกษาเก่ยวกับกลไกการสร้างพันธะท่เก่ยวข้องในการดูดซับไอออนของทองคาและเงินโดยฟังไจสายพันธ์ ุ
ี
ี
Cladosporium cladosporioides โดยใช้เครื่อง x-ray photoelectron (XPS) และเครื่อง Fourier transform
infra-red spectroscopy (FT-IR) ในการศึกษา พบว่าสารดูดซับทางชีวภาพไม่เกิดการเปล่ยนแปลงทางเคม ี
ี
หลังจากใส่โลหะลงไป ซึ่งแสดงว่าปฏิกิริยาทางไฟฟ้าสถิตระหว่างแอนไอออนของทองคำา (AuCl ) และชีวมวลที่รับ
-
4
โปรตอนเข้ามานั้น ไม่ชอบสภาวะที่เป็นกรด