Page 106 - E-Waste
P. 106

102        E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์




            5.2�การดูดซับทางชีวภาพ�(biosorption)�


                  5.2.1�ชีวมวลที่ใช้สำ�หรับรีไซเคิลโลหะมีค่า
                                                                         ึ
                  สารดูดซับทางชีวภาพ (biosorbent) สามารถเตรียมได้จากชีวมวลซ่งมีปริมาณมากมายในธรรมชาติ หรือจาก
                                                                  ี
                                                                                                      ั
            กากชีวมวลของสาหร่าย ฟังไจ หรือแบคทีเรีย ชนิดของชีวมวลท่ใช้สาหรับดูดซับทางชีวภาพของโลหะมีค่าน้นจะ
                                                                      ำ
            แตกต่างกันไปตามชนิดของโลหะ ตารางท่ 5.4 แสดงรายช่อสารดูดซับท่ใช้สาหรับรีไซเคิลไอออนของโลหะมีค่า
                                                ี
                                                                             ำ
                                                                          ี
                                                              ื
            ซึ่งจากรายละเอียดในตารางมีประเด็นที่สำาคัญดังนี้
                                                                 ำ
                  (1) การดูดซับทางชีวภาพของโลหะมีค่าจากสารละลายจะทาได้ดีในสภาวะท่เป็นกรด โดยเฉพาะการดูดซับบน
                                                                               ี
                     แบคทีเรียและอนุพันธ์ของไคโตซาน (chitosan)
                  (2) ความสามารถในการดูดซับโลหะมีค่าบนชีวมวลชนิดต่างๆ มีค่าต้งแต่ 0.003 – 40 มิลลิโมลต่อกรัมชีวมวลแห้ง
                                                                       ั
                      ึ
                                        ิ
                                                ื
                                                                ี
                                                                          ี
                     ซ่งควรมีการทดลองเพ่มเติมเพ่อคัดเลือกชีวมวลท่เหมาะสมท่สุดจากจุลินทรีย์หลายพันล้านตัวและ
                     อนุพันธ์ของมัน
                                                                                                  ื
                                                                               ำ
                  (3) อาจใช้ชีวมวลใน “สถานะธรรมชาติ” ของมันหรือดัดแปลงก็ได้ เช่น ทาการ cross-link เพ่อปรับปรุง
                     ประสิทธิภาพของการดูดซับทางชีวภาพ
                                                                                                     ่
                                                                       ้
                                         ้
                                              ุ
                                                  ์
                                               ั
                  (4) การดดซบทางชีวภาพดวยอนพนธของไคโตซานสามารถใชเปนทางเลอกในการรไซเคลโลหะมคาจาก
                            ั
                                                                                         ี
                                                                                             ิ
                                                                                                    ี
                                                                                ื
                         ู
                                                                         ็
                     สารละลายได้ เนื่องด้วยสามารถดูดซับไอออนทองคำา (Au ), แพลทินัมไอออน (Pt ) และแพลเลเดียม
                                                                     3+
                                                                                         4+
                     ไอออน (Pd ) ได้สูงขึ้น
                               2+
                  ไคโตซานเป็นอนุพันธ์ของไคติน (chitin) ที่ถูกกำาจัดอะเซทิลออก (deacetylated) จัดเป็นพอลิเมอร์ชีวภาพ
                    ี
              ี
            ท่มีมากท่สุดเป็นอันดับสองของโลกรองจากเซลลูโลส ข้อดีของการใช้ไคโตซานเพ่อดูดซับโลหะมีค่า คือ หม่อะมิโนของ
                                                                                                 ู
                                                                            ื
                                                             ี
                                                                       ึ
            ไคโตซานจะรับโปรตอน (protonated) ได้ง่ายในตัวกลางท่เป็นกรด ซ่งจะเกิดเป็นแรงทางไฟฟ้าสถิตอันเป็นกลไก
                                                                                           ู
            ข้นแรกของการดูดซับ ไคโตซานสามารถนามาดัดแปลงได้ง่ายโดยการปลูกถ่าย (grafting) หม่ฟังก์ชันใหม่ลงบน
              ั
                                               ำ
            สายหลัก (backbone) ของพอลิเมอร์เพื่อเพิ่มช่วงของสมบัติและหน้าที่การทำางาน (functionality) ให้มากขึ้น
                                     ึ
                         ี
                                                         ั
                                                                                                         ำ
                                                                                                         ่
                  ชีวมวลท่เป็นจุลินทรีย์ซ่งแขวนลอยอย่างอิสระน้นมีข้อเสียคือ มีขนาดอนุภาคเล็ก มีความแข็งแรงเชิงกลตา
                                                                                           ็
                               ้
                               ี
                                                              ่
                                                                                                     ั
                                                  ้
                                                                                                         ่
                                                              ี
                             ่
                                                                                                  ่
                                                                                    ิ
                                        ำ
            การแยกชีวมวลเหลานออกจากนาทงจงทาไดยาก การเปลยนรปแบบของถงทาปฏกรยาไปเปนแบบทออดแนน
                                                                            ั
                                          ิ
                                          ้
                                             ึ
                                                                  ู
                                        ้
                                                                                  ิ
                                                                              ำ
                                               ำ
                                                                                   ิ
                                                                                  ื
                                                                            ี
                                                                                                      ื
            (packed-bed reactor) หรือฟลูอิไดซ์เบด (fluidized-bed) จะลดข้อเสียเหล่าน้ลงได้ เน่องจากจุลินทรีย์ไม่ได้เคล่อนท ่ ี
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111