Page 115 - E-Waste
P. 115
C 1 2 3 4 5 6
111
ึ
ิ
ื
กับส่งแวดล้อมในการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์ซ่งได้แก่ การให้ความร้อนเพ่อถอดช้นส่วนจากแผ่นวงพิมพ์ด้วยมือ
ิ
ี
ื
ำ
ี
การเผาในท่เปิดเพ่อลดปริมาณของเสียและนาโลหะกลับมาใช้ใหม่ และการย่อยขยะอิเล็กทรอนิกส์ด้วยกรดในท่โล่ง
ำ
้
ึ
ื
ำ
ั
ิ
้
เพ่อนาโลหะมีค่ากลับมาใหม่ ของเสียจากนากรดซ่งเข้มข้นไปด้วยโลหะหนักถูกท้งลงดินหรือในทางระบายนาท่วไป
ำ
ั
ั
ตะก่วจะถูกหลอมเป็นก้อนออกจากแผ่นวงจรพิมพ์ด้วยการย่างด้วยเตาถ่าน มีการใช้พัดลมต้งโต๊ะเป็นอุปกรณ ์
ระวังอันตรายเพียงอย่างเดียวท่ช่วยลดโอกาสในการสัมผัสกับไอพิษจากก้อนตะก่ว คนงานทางานหนักโดยปราศจาก
ี
ั
ำ
ี
ี
แว่นนิรภัย หน้ากาก หรือถุงมือ เทคนิคการรีไซเคิลท่อันตรายเหล่าน้ล้วนก่อให้เกิดการปนเป้อนของสารอันตราย
ื
ต่อสิ่งแวดล้อมในวงกว้าง ดังแสดงไว้ในตารางที่ 6.1
ตารางที่�6.1� สารที่มีโอกาสปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการทิ้งหรือการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์
สารปนเปื้อน ความเกี่ยวข้องกับขยะ ความเข้มข้นที่พบ ปริมาณปล่อยสะสม
อิเล็กทรอนิกส์ ทั่วไปในขยะ ต่อปีทั่วโลกในรูปขยะ
อิเล็กทรอนิกส์ (mg/kg) a อิเล็กทรอนิกส์ (ตัน) b
polybrominated diphenyl ethers (PBDEs) สารทนไฟ
polybrominated biphenyls (PBBs)
tetrabromobisphenol-A (TBBPA)
polychlorinated biphenyls (PCBs) เครื่องควบแน่น, หม้อแปลง 14 280
ระบบหล่อเย็น, โฟมฉนวนความ
chlorofluorocarbon (CFC)
ร้อน
polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs) ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการเผาไหม้
polyhalogenated aromatic hydrocarbons ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการเผาไหม้
(PHAHs) ที่อุณหภูมิต่ำา
ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการเผาไหม้
polychlorinated dibenzo-p-dioxins PVC และพลาสติกอื่นๆ
(PCDDs)
ที่อุณหภูมิต่ำา
polychlorinated dibenzofurans (PCDFs)
อะเมริเซียม (Am) เครื่องตรวจจับควัน
พลวง (Sb) สารทนไฟ, พลาสติก 1,700 34,000