Page 12 - E-Waste
P. 12
8 E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
การจัดการซากผลิตภัณฑ์ 1
เครื่องใช้ไฟฟ้า�
บทที่ � 1 และอิเล็กทรอนิกส์
บทที่�1
ื
ในช่วงทศวรรษท่ผ่านมาการใช้งานผลิตภัณฑ์เคร่องใช้ไฟฟ้าและ
ี
ึ
อิเล็กทรอนิกส์เพ่มมากข้น ตามการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและ
ิ
อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย ซ่งหลังหมดอายุการใช้งาน จะมีซากผลิตภัณฑ์เคร่อง
ื
ึ
ใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หรือ “ขยะอิเล็กทรอนิกส์ (e-waste)” เกิดขึ้นมากมาย
ตามมา ในปี พ.ศ. 2551 ขยะอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ถูกทิ้งออกมามากถึง 2.72 ล้านตัน
ั
ึ
็
ิ
ึ
และมีอตราการเพ่มข้นประมาณ 20% ทุกปี ซ่งประเทศไทยเองกยังไม่มีระบบการ
ำ
ี
ี
ื
จัดการท่เหมาะสมเพ่อรองรับซากผลิตภัณฑ์เหล่าน้ ทาให้ส่งผลเสียต่อสถานการณ ์
ั
ื
ิ
ั
ส่งแวดล้อม และก่อให้เกิดปัญหาการใช้ทรัพยากรอย่างไม่ย่งยืนตามมา ดังน้นเพ่อ
เป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว รัฐบาลไทยจึงได้เริ่มพัฒนายุทธศาสตร์การ
จัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 โดย
ั
ยุทธศาสตร์น้จะส่งเสริมให้เกิดการจัดการซากท่เหมาะสม ท้งในเร่องของการส่งเสริม
ี
ื
ี
่
ื
ั
์
ำ
ิ
้
ู
่
ิ
ิ
ใหเพมอัตราปริมาณการจัดเก็บรวมรวบซากผลตภณฑเพอนาไปส่การรีไซเคลและ
ำ
ทาลายอย่างปลอดภัย หรือการส่งเสริมการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่เป็นมิตร
ี
ึ
ำ
ิ
ต่อส่งแวดล้อมโดยปราศจากการใช้สารเคมีอันตรายซ่งจะทาให้ซากผลิตภัณฑ ์
ำ
ำ
ึ
สามารถนามาใช้ใหม่ รีไซเคิล หรือกาจัดทาลายได้อย่างปลอดภัยซ่งจะเป็นผลด ี
ำ
ึ
ี
ุ
ั
ต่อสุขภาพของกล่มคนท่เก่ยวข้องตลอดท้งวงจรผลิตภัณฑ์ได้มากข้น ซ่งถือได้ว่า
ึ
ี
เป็นการแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุได้้โดยรวม