Page 14 - E-Waste
P. 14
10 E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
การแต่งแร่และ การผลิต การกระจายสินค้า
ทำาเหมืองแร่ วัสดุ ผลิตภัณฑ์ เพื่อบริโภค
ชิ้นส่วนที่นำากลับไป
แหล่งทรัพยากร วัตถุดิบที่นำากลับไปใช้ใหม่ ใช้ใหม่ การบริโภค
วัสดุที่นำากลับไป การนำากลับไปใช้ซ้ำาโดยตรง
ใช้ใหม่
สถานที่ทิ้ง การปรับปรุงคุณภาพวัสดุ การแยกผลิตภัณฑ์เพื่อนำา การเก็บผลิตภัณฑ์
ของเสียใช้แล้ว เพื่อนำากลับมาใช้ใหม่ กลับมาใช้ใหม่ ใช้แล้วกลับคืน
การเก็บพลังงานจากการเผา
มาใช้ประโยชน์
ที่มา ขวัญชัย ลีเผ่าพันธุ์, การเก็บกลับคืนทรัพยากรและนำากลับมาใช้ใหม่, 2010
รูปที่ 1.1 วงจรการใช้ประโยชน์แหล่งทรัพยากร
ื
ั
ู
ี
นอกจากรัฐบาลแล้ว ภาคประชาชนท่วไปเองก็ยังคงให้ความสนใจในเร่องปริมาณวัสดุอันตรายท่อย่ในขยะ
ำ
ำ
้
ำ
อิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบันทางเลือกหลักๆ สาหรับการบาบัดขยะอิเล็กทรอนิกส์โดยมากจะเป็นการใช้ซา (reuse)
การผลิตซ้ำา (remanufacturing) และการรีไซเคิล (recycling) ตลอดจนการเผา (incineration) และการฝังกลบ
(landfilling) นอกจากนี้ ในกรณีที่ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ล้าสมัยและไม่เป็นที่ต้องการของเจ้าของเดิม แต่อาจจะ
ำ
ำ
มีค่าสาหรับผ้อ่น โดยสามารถนาไปขายหรือบริจาคให้กับโรงเรียน องค์กรการกุศล ไปใช้ประโยชน์ต่อโดยไม่ต้องทาการ
ำ
ู
ื
ปรับแต่งใดๆ การนำาผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ท่หมดอายุแล้วมาใช้ซาถือเป็นทางเลือกอันดับแรกในด้านการจัดการ
ี
ำ
้
ขยะอิเล็กทรอนิกส์ เน่องจากอายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์น้นจะถูกยืดออกไปอีกในตลาดมือสอง ซ่งจะช่วยลดปริมาณ
ื
ั
ึ
ของขยะที่นำามาบำาบัดลงได้ สำาหรับการผลิตซ้ำาเป็นกระบวนการผลิตแบบกลุ่ม (production-batch) ซึ่งผลิตภัณฑ์
ที่ใช้แล้วหรือส่วนประกอบภายในจะถูกรื้อออก ทำาความสะอาด ซ่อมแซมหรือปรับปรุงใหม่ แล้วประกอบกลับเข้าไป
ิ
ื
ำ
ั
ำ
อีกคร้ง และทาการทดสอบเพ่อผลิตเป็นอุปกรณ์ช้นใหม่หรือเหมือนใหม่ ส่วนการรีไซเคิลคือการนาซากวัสดุมาผ่าน
ุ
์
ิ
์
ิ
็
่
ื
ิ
ี
่
ื
้
ำ
ั
ิ
กระบวนการผลตอกครงเพอนาไปใชในวตถประสงคเดมหรอวตถประสงคอน โดยการรไซเคลขยะอเลกทรอนกสจะ
้
ี
ิ
์
ั
ื
ุ
ั
ื
เป็นการถอดร้อและ/หรือทาลายซากผลิตภัณฑ์เพ่อฟ้นฟูสภาพวัสดุต่างๆ สาหรับการบาบัดขยะอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
ำ
ื
ำ
ื
ำ