Page 15 - E-Waste
P. 15
C 1 2 3 4 5 6
11
่
ำ
ึ
็
การเผา ถ้าเปนการเผาโดยใช้เตาเผาแบบเก่า ซงใช้สาหรับเผาขยะมูลฝอยเทศบาลนนเป็นส่งทอันตรายมาก เน่องจาก
้
่
ื
ี
ั
ิ
ทองแดงที่เป็นส่วนประกอบของขยะอิเล็กทรอนิกส์จะเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (catalyst) ให้เกิดสารไดออกซิน (dioxin)
ในระหว่างที่สารหน่วงไฟ (flame-retardant) ถูกเผา โดยเฉพาะการเผาสารหน่วงไฟประเภทโบรมีน (brominated
flame-retardant - BFRs) ที่อุณหภูมิตา ในประชาคมยุโรปซ่งมีการใช้เตาเผาขยะกันมาก ได้มีการประมาณปริมาณ
่
ำ
ึ
สารที่ปล่อยออกจากเตาเผาว่าจะมีปรอทประมาณ 36 ตันต่อปี และแคดเมียม 16 ตันต่อปี อย่างไรก็ดี การกำาจัดด้วย
การเผานี้ควรเป็นทางเลือกลำาดับสุดท้ายของการบำาบัดขยะอิเล็กทรอนิกส์ รองจากการส่งเสริมให้นำาอุปกรณ์ทั้งหมด
ไปใช้ซ้ำา ผลิตซ้ำา และรีไซเคิลวัสดุ
ึ
ำ
การทาเหมืองแร่ในเมือง (urban mining) เป็นอีกกระบวนการรีไซเคิลแบบหน่งท่ส่งเสริมให้ทรัพยากร
ี
ึ
ึ
ท่ไม่สามารถหมุนเวียนได้ถูกรักษาไว้ในวงจรการใช้ทรัพยากรได้อย่างยาวนานข้น ซ่งนิยมนาซากผลิตภัณฑ์เคร่องใช ้
ื
ี
ำ
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ท่มีวัสดุมีค่าแร่ธาตุและสารประกอบต่างๆ มาเป็นวัตถุดิบต้งต้นในกระบวนการทา
ั
ี
ำ
ั
เหมืองแร่ วัสดุท่ถูกฟ้นฟูสภาพจากการทาเหมืองแร่ในเมืองน้นใช้พลังงานน้อยกว่าการผลิตผลิตภัณฑ์จากการใช้วัสด ุ
ี
ื
ำ
ี
ท่สกัดมาจากการทาเหมืองแร่แบบด้งเดิมดังตัวอย่างในรูปท่ 1.2 เป็นการเปรียบเทียบพลังงานท่ใช้ผลิตโลหะชนิดต่างๆ
ั
ำ
ี
ี
จากแหล่งสินแร่ปฐมภูมิและจากเศษโลหะทุติยภูมิ
ตะกั่ว
เหล็กกล้า
สังกะสี
ทองแดง
นิกเกิล
อะลูมิเนียม
แมกนีเซียม
0 50 100 150 200 250 300 350 400 450
(พลังงาน (GJ/ton)
ผลิตจากสินแร่แหล่งปฐมภูมิ
ผลิตจากเศษโลหะแหล่งทุติยภูมิ
รูปที่ 1.2 สัดส่วนพลังงานที่ต้องการใช้ในการผลิตโลหะจากแหล่งปฐมภูมิและแหล่งทุติยภูมิ