Page 122 - E-Waste
P. 122
118 E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ุ
ี
เด็กๆ ในเมืองก้ยหยู มีปริมาณตะก่วและแคดเมียมในโลหิตสูง รวมถึงมีความสามารถในการเรียนร้ท่ตากว่า
ั
ู
ำ
่
ำ
ึ
ี
้
ำ
เด็กจากเมืองข้างเคียง ในทานองเดียวกันยังพบปริมาณพอลิคลอริเนตเต็ดไบฟีนิลท่สูงในนานมมารดา ซ่งน่าจะมา
จากการรับสารพิษหลายทางไม่ว่าจะเป็นจากอาหาร นาด่มและการปนเป้อนในอากาศ ยังมีรายงานเก่ยวกับระดับของ
ื
ื
ี
ำ
้
โครเมียม (ค่าเฉลี่ย 0.094 มิลลิกรัมต่อลิตร) ในกระแสเลือดและในสายสะดือของเด็กทารกในเมืองกุ้ยหยู ว่าความ
เข้มข้นของโครเมียมในสายสะดือน้นสัมพันธ์กับระดับการทาลายดีเอ็นเอ และพบความผิดปรกติทางโครโมโซม
ำ
ั
(chromosomal aberration) ของคนในหมู่บ้านที่รีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์ในอัตราที่สูงกว่าปกติถึง 20 เท่าซึ่งสาม
ารถสรุปได้ว่าขยะอิเล็กทรอนิกส์เป็นต้นเหตุท่มีโอกาสก่อให้เกิดความผิดปกติทางพันธุกรรมและกระต้นให้เกิด
ุ
ี
ความเสียหายทางพันธุศาสตร์ระดับเซลล์ (cytogenetic damage) กับผู้คนที่สัมผัสกับมลพิษจากขยะอิเล็กทรอนิกส์
6.5�บทสรุป
่
้
ึ
ี
ุ
ิ
่
ำ
้
์
็
ปรมาณซากขยะอเลกทรอนกสทเพ่มขนอยางมากมายทัวโลก ทาใหเกิดโรงงาน/ธรกจการรไซเคิลขยะ
ิ
ิ
ิ
ิ
่
ี
อิเล็กทรอนิกส์โดยการคัดแยกชิ้นส่วนประกอบต่างๆ รวมทั้งส่วนของแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อนำาทรัพยากรมีค่า
ี
ี
หมนเวียนกลับมาใชใหม่กันอยางแพรหลาย ซ่งหากมการรไซเคลด้วยเทคโนโลยท่ไม่เหมาะสม จะสงผลให้เกิดการ
่
้
ุ
ี
่
ึ
ี
ิ
่
ิ
ี
ื
ี
กระจายตัวของมลพิษต่างๆ ในส่งแวดล้อม รูปท่ 6.1 แสดงเส้นทางท่เป็นไปได้ของการปนเป้อนมลพิษจากการรีไซเคิล
ิ
ขยะอิเล็กทรอนิกส์ โดยเร่มจากเส้นทางของผ้ผลิตขยะอิเล็กทรอนิกส์ไปถึงผ้รับขยะอิเล็กทรอนิกส์ และสุดท้ายไปส ู ่
ู
ู
ความเสี่ยงต่อสุขภาพของมนุษย์ นอกจากนี้ยังมีเส้นทางการนำาเข้าและส่งออกขยะอิเล็กทรอนิกส์จากประเทศหนึ่งไป
ยังอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งแสดงให้เห็นว่าขยะอิเล็กทรอนิกส์นั้นมีโอกาสที่จะส่งผลกระทบต่อผู้คนทั่วโลก