Page 117 - E-Waste
P. 117
C 1 2 3 4 5 6
113
สารปนเปื้อน ความเกี่ยวข้องกับขยะ ความเข้มข้นที่พบ ปริมาณปล่อยสะสม
อิเล็กทรอนิกส์ ทั่วไปในขยะ ต่อปีทั่วโลกในรูปขยะ
อิเล็กทรอนิกส์ (mg/kg) a อิเล็กทรอนิกส์ (ตัน) b
ดีบุก (Sn) ลวดเชื่อม, จอ LCD 2,400 48,000
สังกะสี (Zn) 5,100 102,000
แร่โลหะหายาก (rare earth elements) จอ CRT
a (Morf et al., 2007)
b ตั้งสมมติฐานว่าการเกิดขยะอิเล็กทรอนิกส์ทั่วโลกอยู่ที่ประมาณ 20 ล้านตันต่อปี
ที่มา Brett H. Robinson, Science of the Total Environment, 2009
สาหรับประเทศไทย การจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างเหมาะสมน้นยังมีข้อจากัดในการดาเนินการท้งทาง
ำ
ำ
ั
ำ
ั
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ และด้านเทคโนโลยี ทาให้ไม่เกิดระบบการจัดการท่ได้มาตรฐานเพียงพอ จนอาจ
ี
ำ
นำาไปสู่ปัญหาการเกิดมลพิษต่างๆ อย่างที่ได้กล่าวมาแล้ว มีการศึกษาการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์ของกลุ่มศึกษา
ื
ำ
ี
ี
และรณรงค์มลภาวะอุตสาหกรรมท่ได้รับการสนับสนุนของมูลนิธิเอเชีย ประเทศไทย ในพ้นท่ตาบลโคกสะอาด
ำ
ื
อาเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธ์ ซ่งเป็นชุมชนท่มีอาชีพรับซ้อขยะอิเล็กทรอนิกส์มาคัดแยกช้นส่วนพบว่าการให้ชุมชน
ี
ุ
ึ
ิ
ี
ดาเนินการรีไซเคิลโดยวิธีท่ไม่เหมาะสมและไม่ได้มาตรฐาน ย่งเพ่มความเส่ยงของการแพร่กระจายมลพิษ
ำ
ิ
ิ
ี
่
ี
ื
่
ี
ื
์
ิ
จากกระบวนการคดแยกชนส่วน มรายงานวาในแต่ละเดอนจะมซากผลตภัณฑเครองใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกส ์
ั
ิ
้
ิ
ท่นาเข้ามาคัดแยกในตาบลโคกสะอาดประมาณ 64 ตัน ประกอบด้วย พัดลม ต้เย็น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร ์
ี
ำ
ู
ำ
ำ
ี
ื
ื
เคร่องซักผ้า เคร่องปรับอากาศ หม้อหุงข้าว และเคร่องเล่นซีดี เรียงตามลาดับปริมาณจากมากไปน้อย โดยส่วนท่เป็น
ื
ิ
่
้
่
ิ
ี
่
้
ิ
ื
ื
ื
เศษเหลอจะถกนาไปทง หรอเศษเหลอบางอยางถกนาไปเผาเพอแยกวสดมคา เชน เศษสายไฟ เศษชนสวนพลาสตก
ำ
ู
่
ื
่
ุ
ั
ำ
ู
ที่มีโลหะติดอยู่ รวมถึงซากของแผ่นวงจรพิมพ์ ซึ่งการกองเพื่อเผากลางแจ้งนั้นทำาให้เกิดการสะสมและแพร่กระจายของ
สารพิษที่เป็นองค์ประกอบในเครื่องใช้ไฟฟ้าออกมาปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม จากการตรวจวิเคราะห์ดินบริเวณที่มีการ
กองเผาเศษเหลือ พบว่ามีปริมาณตะกั่วสูงถึง 79,520 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และทองแดง 39,161 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
ึ
ซ่งสารโลหะหนักท่สะสมอย่ในดินน้อาจแพร่ผ่านเข้าส่ร่างกายประชาชนท่เข้าไปเก็บเศษท่เหลือจากการเผาโดยใช ้
ี
ี
ู
ู
ี
ี
มือเปล่าและเข้าสู่ห่วงโซ่อาหารต่อไปได้