Page 120 - E-Waste
P. 120

116        E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์




            6.3�มลพิษที่ปนเปื้อนในระบบนิเวศบนพื้นผิวดิน

                                                     ำ
                                                            ี
                  ในตัวอย่างดินจากโรงงานท่ใช้กรดชะเพ่อนาโลหะท่มีค่าออกมา มีค่าพอลิโบรมิเนตเต็ดไดฟีนิลอีเทอร์สูงถึง
                                                   ื
                                         ี
            4,250 นาโนกรัมต่อกรัม และยังพบพอลิคลอริเนตเต็ดไบฟีนิล พอลิไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน และพอลิโบรมิเนต-
                   ี
                     ิ
                                                 ้
                                            ู
                                                 ื
                                                                            ู
                               ี
                                       ้
                                                           ู
                       ี
                            ์
                                          ้
                                                                                      ิ
                                                                          ี
                                                                          ่
                                                    ี
            เตดไดฟนลอเทอร ท่มีความเขมขนสงในพนท่เพาะปลกในประเทศจนทอยรายรอบบรเวณทมการจดการขยะ
                                                                            ่
                                                                       ี
                                                                                           ่
                                                                                           ี
              ็
                                                                                                 ั
                                                                                             ี
            อิเล็กทรอนิกส์โดยพบพอลิโบรมิเนตเต็ดไดฟีนิลอีเทอร์ความเข้มข้นระหว่าง  191-  9,156  นาโนกรัมต่อกรัม
            (น้ำาหนักแห้ง) ยังตรวจพบพอลิคลอริเน็ตเต็ดไดเบนโซ-p-ไดออกซิน และไดเบนโซฟูแรน (polychlronated dibenzo-
            p-dioxins and dibenzofurans: PCDD/Fs) พอลิคลอริเนตเต็ดไบฟีนิล และพอลิไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน
            ความเข้มข้นสูงถึง 100, 330 และ 20,000 นาโนกรัมต่อกรัม ตามลำาดับ
                                                 ี
                   ำ
                  สาหรับการปนเป้อนของมลพิษเหล่าน้ในห่วงโซ่อาหาร มีการตรวจพบพอลิโบรมิเนตเต็ดไดฟีนิลอีเทอร์ และ
                                ื
                                                   ี
            พอลิคลอริเนตเต็ดไบฟีนิลความเข้มข้นสูงในพืชท่ปลูกในดินท่มีพอลิโบรมิเนตเต็ดไดฟีนิลอีเทอร์ความเข้มข้นสูง 25,479
                                                             ี
            นาโนกรัมต่อกรัม โดยพบว่าใบของผักกูด (Pteridium aquilinum L.) เฟิร์นแมงมุม (Pteris multifida Poir.)
            ข้าวฟ่าง (Sorghum bicolour L.) สมุนไพร Japanese dock (Rumex japonicus Houtt.) และดอกเดซี่ชนิดหนึ่ง
            (Erigeron annuus L.) มีความเข้มข้นของพอลิโบรมิเนตเต็ดไดฟีนิลอีเทอร์สูงถึง 144, 116, 162, 278 และ 326 (นาโนกรัม
                                                                                                         ่
                                                                                                         ำ
            ต่อกรัม นาหนักแห้ง) แม้ว่าค่าสัมประสิทธ์การสะสมทางชีวภาพ (bioaccumulation coefficients) จะมีค่าตา
                     ำ
                                                ิ
                     ้
                                                                                    ื
                               ี
            มาก (<0.01) แต่การท่พืชสามารถดูดซับสารเหล่าน้เข้าไปได้น้น ก็เท่ากับว่ามีการปนเป้อนสารพิษเข้าไปในห่วงโซ ่
                                                               ั
                                                       ี
            อาหารแล้ว ทั้งนี้ได้พบการปนเปื้อนของโลหะหนักในดินจากย่านชุมชนแออัดที่มีการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์ โดย
            พบแคดเมียม 39 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อินเดียม 4.6 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ดีบุก 957 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม พลวง 180
            มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ปรอท 49 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตะกั่ว 2,850 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และบิสมัท 2.7 มิลลิกรัมต่อ
                  ั
              ิ
            กโลกรม (Ha et al., 2009) ซึ่งปริมาณนี้สูงกว่าที่พบในดินย่านที่มีการควบคุมในเมืองเดียวกันถึงร้อยเท่า
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125