Page 118 - E-Waste
P. 118
114 E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
6.1�มลพิษที่สะสมในระบบนิเวศทางน้ำ�
ื
ำ
ู
สารปนเป้อนท่มาจากขยะอิเล็กทรอนิกส์จะเข้าส่ระบบนิเวศทางนาด้วยการชะละลาย
ี
้
ี
ำ
้
ี
ิ
ำ
ิ
จากแหล่งท้งขยะอิเล็กทรอนิกส์ท่นามากองรวมกัน รวมถึงนากรดท่ถูกท้งมาจากกระบวน
การโลหะวิทยาสารละลาย หรือการละลายของมลสารที่ปนเปื้อนอยู่ในอากาศ มีรายงานตัวเลข
ของการสะสมพอลิโบรมิเนตเต็ดไดฟีนิลอีเทอร์ (polybrominated diphenyl ethers:
PBDEs) ในแม่น้ำาหนานหยาง ใกล้กับเมืองกุ้ยหยู ว่ามีความเข้มข้นสูงถึง 766 นาโนกรัม
ต่อกรัม และในตะกอนแม่น้ำามากถึง 16,000 นาโนกรัมต่อกรัม อีกทั้งพบว่างูน้ำา ซึ่งเป็นผู้ล่า
บนสุดของพีระมิดอาหารมีปริมาณพอลิคลอริเนตเต็ดไบฟีนิล (polychlorinated biphenyls:
PCBs) เฉลี่ย 16,512 นาโนกรัมต่อกรัม และมีพอลิโบรมิเนตเต็ดไดฟีนิลอีเทอร์ 1091 นาโนกรัม
ต่อกรัม ต่อนาหนักสุทธิ ส่วนปลานวลจันทร์ ปลาไน และก้งจากพ้นท่เดียวกันมีความ
้
ุ
ื
ี
ำ
ึ
ี
เข้มข้นของสารปนเป้อนดังกล่าวท่มากข้นไปอีก นอกจากน้ยังพบสารทนไฟท่มีส่วนผสมของ
ี
ื
ี
โบรมีนนอกเหนือไปจากพอลิโบรมิเนตเต็ดไดฟีนิลอีเทอร์ ไม่ว่าจะเป็น 1,2-บิส
(2,4,6-ไตรโบรโมฟีนอกซี) อีเทน (1,2-bis(2,4,6-tribromophenoxy) ethane), เดคาโบร-
โมไดฟีนิลอีเทน (decabromodiphenyl ethane) และเตตราโบรโมบิสฟีนอล เอ บิส
(2,3-ไดโบรโมโพรพิล) อีเทอร์ (tetrabromobisphenol A bis (2,3-dibromopropyl)
ี
้
ether) ต่างก็พบว่าแพร่กระจายในหลายจุดของพ้นท่สามเหล่ยมปากแม่นา ซ่งเป็นแหล่ง
ึ
ี
ื
ำ
ั
ี
้
ำ
ี
ปลายนาจากเมืองท่มีการรีไซเคิล นอกจากน้ยังพบว่ามีตะก่วมากถึง 0.4 มิลลิกรัมต่อลิตร
ในแม่น้ำาใกล้กับโรงงานรีไซเคิลในเมืองกุ้ยหยู ซึ่งสูงกว่าถึง 8 เท่าของมาตรฐานน้ำาดื่ม (0.05
ี
มิลลิกรัมต่อลิตร) และยังมีรายงานปริมาณความเข้มข้มท่ค่อนข้างสูงของเงิน โครเมียม ลิเทียม
โมลิบดินัม พลวง และซีลีเนียม ในแหล่งน้ำาใกล้แม่น้ำาเหลียนเจียง
6.2�มลพิษที่กระจายอยู่ในอากาศ
ื
ุ
ุ
สารปนเป้อนมากมายในขยะอิเล็กทรอนิกส์ลอยในรูปฝ่นละอองลอยฟ้งไปกับอากาศ
ู
แพร่กระจายไปส่คนโดยผ่านทางการกิน การสูดหายใจ และการซึมเข้าผิวหนัง ตัวอย่าง
ื
อากาศท่เก็บจากพ้นท่ใกล้กับเมืองก้ยหยูพบว่ามีสารพอลิคลอโรไดเบนโซ-p-ไดออกซิน
ี
ี
ุ
(polychlorodibenzo-p-dioxins) ในช่วง 65-2,765 พิโคกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งนับว่า
เป็นปริมาณสารไดออกซินท่เข้มข้นท่สุดท่เคยตรวจพบในบรรยากาศซ่งมีค่าสูงถึง 15-16 เท่า
ี
ี
ึ
ี
จากค่ามากสุดที่มนุษย์สามารถรับได้ที่องค์การอนามัยโลก (WHO) กำาหนดไว้