Page 104 - E-Waste
P. 104
100 E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ื
กลไกการชะทองแดงด้วยจุลินทรีย์จากซากแผ่นวงจรพิมพ์โดยเช้อแอซิดไทโอบาซิลลัส เฟอร์โรออกซิแดน
ั
ั
(Acidithiobacillus ferrooxidants) น้นคล้ายกับของโลหะซัลไฟด์ โดยในกระบวนการชะน้น เฟอร์ริกซัลเฟต
ื
ี
ี
(Fe (SO ) ) ท่เกิดข้นโดยเช้อ A. ferrooxidants จะออกซิไดซ์ธาตุทองแดงท่อย่ในซากแผ่นวงจรพิมพ์ไปเป็นคิวปริก
ู
ึ
2
4 3
ไอออน ดังปฏิกิริยาต่อไปนี้
Fe (SO ) + Cu Cu + 2Fe + 3SO 2-
2+
2+
2 4 3 4
มีการศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ฟังไจแอสเปอร์จิลลัส ไนเจอร์ (Aspergillus niger) และ เพนิซิลเลียมซิม
พลิซิสเซียม (Penicillium simplicissimum) เพื่อชะโลหะจากซากอิเล็กทรอนิกส์ พบว่า การชะด้วยฟังไจโดยใส่
ิ
ั
ั
ี
ำ
ื
ซากอิเล็กทรอนิกส์ท่มีความเข้มข้นของซากมากกว่า 10 กรัมต่อลิตร ในระบบต้งแต่เร่มต้นน้น ทาให้เช้อจุลินทรีย ์
่
ั
็
ี
ั
่
ไมสามารถเจริญเติบโตได แต่ถ้าปรบเปนระบบการชะในสองข้นตอนดังท่ได้กล่าวข้างต้นจะพบว่า ทความเข้มข้นของ
้
ี
ั
ั
ำ
่
่
ู
ำ
ึ
ิ
ซากอิเล็กทรอนิกส์สงถง 100 กรัมต่อลตร สามารถทาการบาบดได้งาย สามารถละลายทองแดง ตะกว ดีบุก และสังกะส ี
ี
ั
ี
ู
ท่มีอย่ได้เกือบสมบูรณ์ดังแสดงผลในตารางท่ 5.3 กระบวนการชะสองข้นตอนดังกล่าวใช้กรดกลูโคนิกเกรดการค้า
(commercial gluconic acid: Naglusol 2.5 M) ที่ถูกผลิตขึ้นจากเชื้อ A. niger
TM
ตารางที่�5.3� สัดส่วนของโลหะที่ถูกเคลื่อนย้ายและปริมาณโลหะในสารชะจากซากอิเล็กทรอนิกส์ที่ความเข้มข้นต่างๆ�
เมื่อใช้�Naglusol �(เจือจาง�4�เท่า)�เป็นสารชะ
TM
ความเข้มของซาก (g/L)
ธาตุ 1 10 50 100 1 10 50 100
การเคลื่อนย้ายโลหะ (%) ปริมาณโลหะในสารชะ (g/L)
อะลูมิเนียม (Al) 62 57 42 43 0.15 1.28 4.98 10.2
ทองแดง (Cu) 85 86 70 8 0.07 0.69 2.8 0.6
ตะกั่ว (Pb) 100 92 99 97 0.02 0.18 0.99 1.9
นิกเกิล (Ni) 100 100 100 100 0.02 0.15 0.75 1.5
ดีบุก (Sn) 100 100 100 100 0.02 0.23 1.15 2.3
สังกะสี (Zn) 100 100 100 100 0.02 0.26 1.3 2.6
ที่มา H. Brandl, R. Bosshard, M. Wegmann, Hydrometallurgy, 2001