Page 105 - E-Waste
P. 105

C       1        2       3       4       5        6
                                                                                                      101




                     มีการวิจัยจานวนมากท่ศึกษาการตกตะกอนของโลหะในระหว่างกระบวนการชะซากอิเล็กทรอนิกส์ด้วยจุลินทรีย ์
                              ำ
                                       ี

                     รูปที่ 5.2 แสดงการเปลี่ยนแปลงของปริมาณทองแดงในสารละลายและในตะกอนกับความเข้มข้นของไอออน
               เหล็กที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าในสภาวะที่มีการเติมไอออนเหล็ก (II) นั้น ปริมาณทองแดงในตะกอน
               จะสูงกว่าที่อยู่ในสารละลาย ดังนั้นหลังจากทำาการชะซากแผ่นวงจรพิมพ์ด้วยจุลินทรีย์โดยใช้เชื้อ A. ferrooxidants
                                                                        ื
                                ำ
                                                              ี
               แล้ว ควรหาวิธีการบาบัดตะกอนจากปฏิกิริยาในลักษณะท่เหมาะสม เพ่อให้สามารถรีไซเคิลทองแดงจากกระบวนการ
                                                                                                      ิ
               ในทางปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จากปริมาณของทองแดงทั้งในสารละลายและในตะกอนนั้น การเตมไอออน
               เหล็กที่เหมาะสมที่สุดสำาหรับการชะทองแดงอยู่ที่ประมาณ 7 กรัมต่อลิตร และประสิทธิภาพของการรีไซเคิลทองแดง
               เทียบกับปริมาณที่ป้อนเข้าไปจะอยู่ที่ 24%


                          ิ
                     การเพ่มความสามารถในการละลายของทองแดงและการปรับปรุงประสทธิภาพของกระบวนการชะด้วยจุลินทรีย์
                                                                             ิ
               สามารถทำาได้โดยการเติมสารเชิงซ้อนลงไป ในกรณีที่ไม่ใส่กรดซิตริก (citric acid) พบว่าปริมาณทองแดงที่ถูกชะ
                                                                  ั
                                                         ้
                                                         ำ
                               ู
                      ั
                                                                                                       ิ
               ออกมาท้งหมดมีอย่ในสารละลายเพียง 37% โดยนาหนักเท่าน้น อย่างไรก็ตาม ปริมาณดังกล่าวสามารถเพ่มได้ถึง
               มากกว่า 80% โดยน้ำาหนัก เมื่อใส่กรดซิตริกลงไป ข้อมูลนี้เป็นการชี้ว่า การเติมสารเชิงซ้อน เช่น กรดซิตริก ลงไปใน
               สารละลายของการชะด้วยจุลินทรีย์จะช่วยเพ่มความสามารถในการละลายของไอออนโลหะท่ถูกชะได้ ทาให       ้
                                                      ิ
                                                                                                         ำ
                                                                                               ี
               กระบวนการรีไซเคิลดำาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
                                          12
                                                   ปริมาณ Cu ในสารละลาย
                                          10       ปริมาณ Cu ในตะกอน
                                                   ปริมาณ Cu ทั้งหมด
                                         ปริมาณของ Cu (gL-1)  8



                                           6

                                           4


                                           2

                                           0
                                                  0      3      5     7      9
                                                     ความเข้มข้นของ Fe (gL )
                                                                        -1
                                                                    2+
                               ที่มา M.-S. Choi, K.-S. Cho, D.-S. Kim, et al., J. Environ. Sci. Health – Part A Toxic/Hazard. Subst. Environ.Eng, 2004


                 รูป 5.2 สัดส่วนของปริมาณทองแดงในสารละลายและในตะกอนจากกระบวนการชะซากอิเล็กทรอนิกส์ด้วยจุลินทรีย์ที่มีการเติมเฟอร์รัสไอออนเริ่มต้น
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110