Page 102 - E-Waste
P. 102
98 E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
มีรายงานว่าบริษัท Newmont Mining Corporation ได้สร้างโรงงาน biooxidation heap แห่งแรกขึ้นใน
ำ
ื
ำ
ี
ึ
ปี พ.ศ. 2542 ซ่งก่อนทาการออกซิเดชันทางชีวภาพสามารถฟ้นฟูแร่ทองท่สกัดได้ยากได้ 30-39% และหลังจากทาการ
ออกซิเดชันทางชีวภาพแล้วจะได้ทองคำาเพิ่มขึ้นเป็น 49-61%
5.1.3�การชะโลหะจากขยะอิเล็กทรอนิกส์ด้วยจุลินทรีย์
ำ
ำ
มีการศึกษาความเป็นไปได้ในการฟ้นฟูทองคาจากแผ่นวงจรพิมพ์โดยกระบวนการชะด้วยจุลินทรีย์ โดยนา
ื
ชิ้นวัสดุที่มีทองคำา (ขนาด 5 มิลลิเมตร คูณ 10 มิลลิเมตร) ออกมาโดยการตัดแผ่นวงจรพิมพ์ และทำาการคัดแยกด้วย
มือ ชิ้นส่วนแต่ละชิ้นจะมีทองคำาโดยประมาณ 10 มิลลิกรัม จากนั้นนำามาชะด้วยเชื้อแบคทีเรียชนิดโครโมแบคทีเรียม
วิโอลาเซียม (Chromobacterium violaceum) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าทองคำาดังกล่าวละลายออกจากแผ่นวงจรพิมพ์
ึ
์
ิ
่
ุ
ได้ดวยจลินทรย ซงปรมาณไดไซยาโนออเรต (dicyanoaurate : [Au(CN) ]) สูงสดทวัดได้ 14.9% ของทองคา
ุ
ำ
ี
ี
้
่
-
2
ที่ใส่ไปในตอนเริ่มต้น
ี
ำ
ี
ื
นอกจากน้ มีการศึกษากระบวนการท่ใช้จุลินทรีย์สาหรับเคล่อนย้ายโลหะต่างๆ ออกจากซากอิเล็กทรอนิกส์
ำ
โดยนาฝ่นท่เก็บได้จากกระบวนการย่อยซากอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการศึกษา เช้อจุลินทรีย์ท่ใช้ชะเป็นเช้อผสมของ
ื
ื
ุ
ี
ี
ไทโอบาซิลลัส เฟอร์โรออกซิแดน ( Thiobacillus ferrooxidants) และ ไทโอบาซิลลัส ไทโอออกซิแดน (Thiobacillus
thiooxidants) ผลการศึกษาพบว่า การใส่ซากอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นจะทำาให้ค่าพีเอชเริ่มต้นเพิ่มขึ้น เนื่องจากความ
เป็นเบสของซากอิเล็กทรอนิกส์เป็นภาวะที่เป็นพิษต่อเชื้อจุลินทรีย์ ดังนั้นเพื่อลดภาวะที่เป็นพิษนี้ จึงต้องดำาเนินการ
ชะเป็น 2 ขั้นตอน ในขั้นแรกจะเป็นการสร้างชีวมวล (biomass) ในระบบก่อน โดยยังไม่มีใส่ซากอิเล็กทรอนิกส์ลงไป
จากน้นในข้นท่สอง จะใส่ซากอิเล็กทรอนิกส์ลงไปในความเข้มข้นต่างๆ และใช้เวลาบ่มเพาะเช้อจุลินทรีย์ต่อไปอีก
ี
ั
ั
ื
ี
ึ
รูปท่ 5.1 แสดงผลการชะซ่งพบว่า ท่ความเข้มข้นของซากเท่ากับ 5 และ 10 กรัมต่อลิตร จะสามารถชะอะลูมิเนียม ทองแดง
ี
นิกเกิล และสังกะสี ที่มีอยู่ได้มากกว่า 90% และที่ความเข้มข้นสูงขึ้นการเคลื่อนย้ายโลหะจะลดลงโดยเฉพาะสำาหรับ
อะลูมิเนียมและทองแดง สำาหรับนิกเกิลและสังกะสีจะแสดงผลที่ดีกว่า คือ มีการเคลื่อนย้ายได้ 60% และ 95% ตาม
ั
ื
ลาดับ ในเช้อจุลินทรีย์ท้งหมดจะตรวจไม่พบตะกั่วและดีบุกในนาชะ เน่องจากตะก่วจะตกตะกอนเป็นเลดซัลเฟต
ำ
ั
ื
้
ำ
(PbSO ) และดีบุกจะตกตะกอนเป็นดีบุกออกไซด์ (tin oxide: SnO) ผลการตรวจสอบตะกอนที่เกิดขึ้นระหว่างการ
4
ชะซากอิเล็กทรอนิกส์ด้วยจุลินทรีย์โดยใช้เชื้อซัลโฟบาซิลลัส เทอร์โมซัลไฟออกซิแดน (Sulfobacillus thermosul-
fidooxidants) นั้นก็ยืนยันการมีตะกั่วและดีบุกในตะกอน ดังแสดงในตารางที่ 5.2