Page 31 - E-Waste
P. 31
C 1 2 3 4 5 6
27
ี
ระบบการจัดการซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยแบบท่ 1 (รูปท่ 1.7) มีแนวความคิดทางการ
ี
จัดการซากอิเล็กทรอนิกส์เกิดจากความร่วมมือของผู้บริโภค ผู้ผลิต ผู้ค้าปลีก ศูนย์ซ่อมและร้านรับซื้อของเก่า โดย
ิ
็
ิ
ิ
ื
้
่
ั
ี
่
์
้
ผบรโภคมสวนร่วมรับผดชอบในการจายคาธรรมเนยมการจดการซากอเลกทรอนกส ศนยซ่อมและรานรบซอของเกา
ู
้
ั
์
่
่
ี
ิ
ู
้
ื
ี
ำ
มีสวนรวมในการเก็บรวบรวม และผ้ผลิตทาการรไซเคิล โดยมีหน่วยงานของภาครัฐร่วมมือดวยเพ่อให้เกิดการจดการ
ั
่
่
ู
ึ
ื
ท่รวดเร็ว รวมถึงต้งศูนย์ต๋วรีไซเคิลเคร่องใช้ไฟฟ้าเพ่อควบคุมการรีไซเคิลและประสานงาน แต่ปัญหาท่เกิดข้นคือ
ี
ื
ี
ั
ั
ผู้ผลิตเองเป็นเพียงฐานการผลิตของต่างประเทศทำาให้ขาดแรงจูงใจในการจัดการซากผลิตภัณฑ์
ผู้ผลิต/ผู้นำาเข้า ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์ที่ใช้แล้ว
จ่ายค่าธรรมเนียม จ่ายค่าธรรมเนียมเมื่อซื้อ
รีีไซเคิล สินค้าใหม่
ผู้รวบรวมของเสีย
(ผู้ค้าปลีก จุดรวบรวม
ศูนย์รับซื้อของที่ใช้แล้ว)
ศูนย์บริการ
จัดการของเสีย
Reuse
ผู้ผลิตวัสดุ ผู้รีไซเคิล ผู้คัดแยก
เส้นทางการไหลของวัสดุ เส้นทางการไหลของข้อมูล
เส้นทางการไหลของค่าธรรมเนียมการบำาบัดซาก
ที่มา ศูนย์วิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม, 2551
รูปที่ 1.8 ระบบการจัดการซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยแบบที่ 2