Page 29 - E-Waste
P. 29
C 1 2 3 4 5 6
25
1.4�รูปแบบที่เหมาะสมสำ�หรับการจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
ึ
ั
แนวทางของระบบการจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยน้นได้มีการจัดทาข้นในหลายรูปแบบ โดย
ำ
ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย (2553) ได้เสนอแนะแนวทางของระบบ
การจัดการซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยไว้ ดังแสดงในรูปที่ 1.6
กองทุนของรัฐ
เงินอุดหนุน จัดซื้อจัดจ้าง
หน่วยงาน องค์กร
จัดเก็บ ตรวจสอบ
ค่าธรรมเนียมผลิตภัณฑ์ อัตรารับซื้อคืน
ผู้ผลิตและ ผู้บริโภค ศูนย์รับซื้อคืนใน โรงงานรีไซเคิล โรงงานกำาจัด
ผู้นำาเข้า กำากับของอปท. ของเสีย
ตลาดวัสดุ
เส้นทางการเคลื่อนของผลิตภัณฑ์ฯ/ซากผลิตภัณฑ์ รีไซเคิล
เส้นทางการเคลื่อนของเงินค่าธรรมเนียม/เงินอุดหนุน
การกำากับดูแล
ที่มา ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย, 2553
รูปที่ 1.6 ระบบการจัดการซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ระบบการจัดการซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยตามรูปท่ 1.6 มีแนวคิดจากนโยบายของรัฐตาม
ี
ยุทธศาสตร์การจัดการซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจากการจัดเก็บรายได้ของหน่วยงานที่ได้รับมอบหมาย
ิ
ู
้
ี
้
ั
ู
์
ิ
็
ิ
้
ั
่
ี
ี
ซงมการเก็บอตราคาธรรมเนยมผลตภณฑจากผผลตและนาเขา ผบรโภคมการขายซากอเลกทรอนกสใหกบศนย ์
่
ึ
ู
ิ
ำ
้
ิ
ั
์
รับคืนที่อยู่ภายใต้การกำากับดูแลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เพื่อความเป็นเอกภาพในการรับซื้อภายใต้
กองทุนของรัฐ และมีการกำาหนดราคาการรับซื้อคืนมาตรฐานจากส่วนกลาง นอกจากนี้ยังต้องมีระบบการตรวจสอบ
ด้านการจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาเกี่ยวกับผลประโยชน์ด้วย