Page 33 - E-Waste
P. 33
C 1 2 3 4 5 6
29
ระบบการจัดการซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยแบบที่ 3 (รูปที่ 1.9) มีแนวคิดให้องค์กรกลาง
ื
ื
ี
ู
เป็นผ้รับซ้อและเป็นผ้จัดการการซ้อขายสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ โดยสามารถใช้หลักการทางเศรษฐศาสตร์เป็นตัวช้วัด
ู
ื
ั
ข้อมูล แต่เน่องจากกฎหมายและนโยบายยังไม่เอ้ออานวยต่อการจัดการขององค์กร จึงควรมีการต้งศูนย์กลางหรือ
ื
ำ
ตลาดกลางรับซื้อของเสีย เพื่อควบคุมการจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีระบบ
จากระบบการจัดการทั้ง 4 รูปแบบที่ได้มีการเสนอดังข้างต้น จะพบว่ามีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน คือ ควรมีการ
ั
ำ
ี
จัดต้งองค์กรหรือหน่วยงานส่วนกลางทาหน้าท่เป็นตัวกลางในการประสานงาน ควบคุมดูแลการจัดการต่างๆ ระหว่าง
ผู้บริโภค ผู้ผลิต ผู้ค้าปลีกและหน่วยงานของรัฐให้สามารถดำาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ผู้บริโภคและ
ื
ี
ำ
ำ
ำ
ู
ผ้ผลิตยังเป็นส่วนสาคัญท่จะทาให้เกิดการรับคืนและกาจัดซากเคร่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กลับเข้าส ู ่
ำ
ระบบรีไซเคิลและการกาจัด โดยมีภาครัฐบาลให้การสนับสนุนในส่วนของแนวนโยบาย การบังคับใช้กฎหมายและ
สนับสนุนด้านเงินทุนบางส่วน เพื่อเพิ่มศักยภาพของเทคโนโลยีและการจัดการให้เป็นผลสำาเร็จอีกด้วย
นอกจากปัญหา อุปสรรคและแนวทางการจัดการทั้ง 4 ประเด็นหลักที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ยังควรมีมาตรการ
หรือแนวทางอื่นๆ เพิ่มเติมอีกดังต่อไปนี้
1. ในการผลิตสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่มีแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์เป็นองค์ประกอบ ควรมีการ
พัฒนากระบวนการผลิตท่มีความทันสมัย ใช้เทคโนโลยีให้เกิดประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพสูงสุด มีการพัฒนา
ี
ึ
ิ
ั
บุคลากรให้มีความรับผิดชอบต่อส่งแวดล้อม ซ่งจะช่วยลดผลกระทบจากการเกิดของเสียต่างๆ ในข้นตอนหรือ
กระบวนการผลิต
ี
ิ
2. การส่งเสริมหรือสนับสนุนให้มีการออกแบบสินค้าเคร่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ท่เป็นมิตรต่อส่งแวดล้อม
ื
ี
ิ
โดยมีมาตรการสนับสนุน เช่น การลดหย่อนภาษีให้กับผลิตภัณฑ์ท่เป็นมิตรต่อส่งแวดล้อม การให้ทุนสนับสนุน
ำ
ิ
ำ
ำ
ี
การผลิตและออกแบบผลิตภัณฑ์ท่เป็นมิตรต่อส่งแวดล้อม รวมถึงการให้คาปรึกษาและข้อแนะนาสาหรับการผลิตสินค้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ิ
์
ิ
ิ
ี
ื
่
้
ิ
้
3. ควรมมาตรการการจดการซากของแตละกลมอตสาหกรรมผลตสนคาเครองใชไฟฟาและอเลกทรอนกสท ่ ี
ุ
่
้
็
ั
ุ
่
ื
เหมาะสม กล่าวคือหลังจากมีการขายสินค้าเคร่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์แล้ว ควรมีการรับรองและการจัดเก็บซาก
ื
ำ
ู
ื
เคร่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กลับคืนส่บริษัท เพ่อนาไปจัดการรีไซเคิลหรือทาลายซากเหล่าน้น โดยอาจจะใช ้
ำ
ั
ื
ใบรับประกันสินค้าหรือความสมัครใจของผ้บริโภคแยกตามกล่มอุตสาหกรรม เช่น กล่มอุตสาหกรรมจอเคร่องรับ
ู
ุ
ุ
ู
ำ
ุ
สัญญาณโทรทัศน์ กล่มอุตสาหกรรมโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น เน่องจากแต่ละกล่มอุตสาหกรรมมีความร้และชานาญ
ุ
ื
ั
ึ
ำ
ุ
ของสินค้าเฉพาะกล่ม ทาใหการคดค้นนวตกรรมและเทคโนโลยีการจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์ท่เหมาะสมน้นเกิดข้น
้
ี
ั
ิ
ได้และมีประสิทธิผลสูงสุด