Page 34 - E-Waste
P. 34
30 E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ื
ั
ำ
4. มีการสร้างฐานข้อมูลสินค้าเคร่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีการจัดทาท้งปริมาณ ชนิด และการ
จำาหน่ายทั้งส่งออกและนำาเข้า เนื่องจากปัจจุบันฐานข้อมูลของการจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศยังไม่สมบูรณ์
และไม่เพียงพอ จึงทำาให้การจัดการเป็นไปได้ยากและเกิดเพียงบางส่วน โดยภาครัฐจะต้องมีนโยบายที่เหมาะสมและ
้
ี
ิ
่
ั
่
สามารถปฏบัติได้อยางดี ในการบังคบให้มการรายงานขอมูลท้งปริมาณ ชนดของการนาเข้า การสงออก เพอใหทราบ
้
ื
ิ
ั
่
ำ
ื
ถึงปริมาณการไหลของเคร่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สามารถหาแนวทางหรือกระบวนการจัดการได้อย่างเหมาะสม
และลดปัญหาการทิ้งสู่สิ่งแวดล้อมได้
5. มีการรายงานข้อมูลของการจัดเก็บและการถือครองของผู้บริโภค โดยการสำารวจและติดตามของหน่วยงาน
ำ
หรือบริษัทผ้ผลิตท่มีความต้องการรับสินค้าเคร่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ท่ไม่มีประสิทธิภาพแล้วไปกาจัด เพ่อให ้
ี
ื
ื
ี
ู
สามารถประมาณการจำานวนซากอิเล็กทรอนิกส์ที่ยังคงอยู่ในระบบและซากอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกจัดการไปแล้ว โดยนำา
ข้อมูลเหล่านี้ไปประกอบการจัดทำานโยบายการจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์ที่ยังคงเหลือหรือยังไม่ได้ถูกจัดการได้
ี
ำ
6. การสร้างเทคโนโลยีการจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์ท่มีประสิทธิภาพจากการนาเอาเทคโนโลยีจากต่างชาติมา
ศึกษาเป็นแม่แบบ แล้วนำาเอาองค์ความรู้ทางด้านต่างๆ มาประยุกต์ใช้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ำ
ื
กับการจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ซ่งสามารถลดการนาเข้าเคร่องจักรและพัฒนาศักยภาพทางเทคโนโลย ี
ึ
ของประเทศ
7. ภาครัฐควรจัดทำาแนวนโยบายด้านการจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย โดยศึกษาถึงความเหมาะสม
ของการจัดการซากทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อนำาไปจัดทำาเป็นระเบียบหรือข้อบังคับการจัดการ
ซากอิเล็กทรอนิกส์ต่อไป
ู
ื
8. การพัฒนาระบบการจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์ โดยการส่งเสริมท้งองค์ความร้และเงินทุนเพ่อการพัฒนา
ั
ี
ระบบการจัดการ การออกกฎหมายควบคุม มาตรการทางภาษีและการส่งเสริมสิทธิประโยชน์ทางการค้า ท่ช่วยให ้
ี
ั
ึ
ผ้ประกอบการท้งใหม่และเก่าเล็งเห็นถึงผลประโยชน์ท่เกิดข้นจากการจัดการซากอิเล็กทรอนิกส์ ก่อให้เกิดการพัฒนา
ู
ระบบการจัดการที่ดีขึ้น