Page 74 - E-Waste
P. 74
70 E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ึ
ำ
ี
ุ
โครงการพัฒนาโครงการท่สอง ได้แก่ กล่มของมหาวิทยาลัยอิมพีเรียลซ่งนาซากแผ่นวงจรพิมพ์ท่มีวงจรอย ่ ู
ี
มาบดย่อย และคัดขนาดให้มีขนาดต่ำากว่า 4 มิลลิเมตร จากนั้นนำามาชะด้วยสารชะละลายอิเล็กโทรไลต์กรดที่มีคลอไรด์
ำ
ไอออนสูงซ่งคลอไรด์ไอออนถูกแยกมาจากวิธีทางไฟฟ้าเคมี ทาให้ได้สารละลายอิเล็กโทรไลต์ของโลหะหลายชนิด
ึ
จากนั้นทำาการคัดแยกให้เป็นโลหะเดี่ยวโดยใช้เซลล์เมมเบรนอิเล็กโทรไลต์ (electrolytic membrane cells)
ขั้นตอนหลักในกระบวนการแยกโลหะด้วยวิธีทางโลหะวิทยาสารละลายประกอบด้วย การชะละลายของโลหะ
ที่เป็นของแข็งด้วยกรดหรือด่างประเภทต่างๆ (การชะด้วยไซยาไนด์ การชะด้วยฮาไลด์ การชะด้วยไทโอยูเรีย และ
ี
ำ
ิ
การชะด้วยไทโอซัลเฟต ฯลฯ) สารละลายท่ได้จะถูกแยกหรือทาให้บริสุทธ์ด้วยวิธีต่างๆ เช่น การตกตะกอนสารมลทิน
ออกไป การสกัดด้วยตัวทำาละลาย การดูดซับและการแลกเปลี่ยนประจุ เพื่อแยกและทำาให้โลหะที่ต้องการเข้มข้นขึ้น
จากนั้นสารละลายที่เหลือจะถูกนำาไปผ่านกระบวนการแยกด้วยไฟฟ้า (electrorefining process) หรือกระบวนการ
รีดักชันทางเคมี หรือการตกผลึกเพื่อนำาโลหะกลับคืนมา
4.2�วิธีการชะโลหะมีค่า�(leaching)
การชะ (leaching) เป็นกระบวนการสกัดองค์ประกอบที่ละลายได้ออกจากของแข็งโดยใช้ตัวทำาละลาย ซึ่งเป็น
ขั้นตอนแรกในกระบวนการแยกโลหะด้วยการละลายทางเคมี สารที่นิยมใช้ในการชะเพื่อฟื้นฟูสภาพโลหะมีค่า ได้แก่
ไซยาไนด์ เฮไลด์ ไทโอยูเรีย และไทโอซัลเฟต
4.2.1�การชะด้วยไซยาไนด์
การละลายโลหะทองโดยใช้สารละลายไซยาไนด์ถูกคิดค้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2326 โดยนักเคมีชาวสวีเดนชื่อ
ำ
ึ
Carl Wilhelm Scheele ไซยาไนด์เป็นตัวทาละลายของทองคาซ่งถูกนามาใช้ในอุตสาหกรรมเหมืองเป็นเวลากว่า
ำ
ำ
หนึ่งศตวรรษแล้ว โดยกลไกของการละลายทองคำาในสารละลายไซยาไนด์จะใช้กระบวนการทางไฟฟ้าเคมีเป็นสำาคัญ
ปฏิกิริยาทั้งหมดเป็นดังนี้ 235
4Au + 8CN¯ 4Au(CN) ¯ + 4e
2
O + 2H O + 4e 4OH¯
2 2
Dorin และ Woods ได้ศึกษาผลกระทบของค่าพีเอช (pH) ที่มีต่ออัตราการละลายของโลหะมีค่า (ทองคำา เงิน
แพลเลเดียม และแพลทินัม) ซึ่งผลการศึกษาแสดงว่า การละลายสูงสุดของโลหะมีค่าในสารละลายไซยาไนด์สามารถ
ี
ำ
เกิดข้นได้ท่พีเอช 10-10.5 และอันดับความไว (activity) ของโลหะในกล่มน้ คือ ทองคา>เงิน>แพลเลเดียม>แพลทินัม
ึ
ี
ุ