Page 73 - E-Waste
P. 73
C 1 2 3 4 5 6
69
4.1�โลหะวิทยาสารละลาย�(hydrometallurgy)
วิธีการแยกโลหะด้วยการละลายทางเคมีได้รับความสนใจมากในต่างประเทศ มีการศึกษาด้านต้นทุนขั้นต้นชี้ว่า
ในการรีไซเคิลวัสดุจากซากแผ่นวงจรพิมพ์ทั้งหมดยกเว้นอุปกรณ์เดี่ยว (discrete component) นั้น จะมีกำาไรที่เป็น
ไปได้อยู่ที่ประมาณ 200 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน
ในสหรัฐอเมริกา วิธีการแยกสารโดยใช้การละลายทางเคมีได้ถูกพัฒนาข้นเพ่อให้สามารถรีไซเคิลโลหะได้อย่าง
ึ
ื
มีประสิทธิภาพมากขึ้น และสามารถรีไซเคิลวัสดุประเภทพลาสติก เช่น อิพอกซี ได้ในคุณภาพสูง และยังมีข้อดี คือ
สามารถสกัดทั้งสารฮาโลเจนและอนุพันธ์ของโบรมิเนเต็ดไฮโดรคาร์บอนได้อีกด้วย
ำ
สาหรับในกล่มอุตสาหกรรมขนาดเล็ก มีการใช้วิธีแยกโลหะด้วยการละลายทางเคมีมาเป็นเวลานานแล้วโดยใช ้
ุ
สำาหรับรีไซเคิลทองคำาที่เคลือบอยู่บนชิ้นส่วน pin และ edge connector ในซากแผ่นวงจรพิมพ์ที่ถูกคัดแยกออกมา
ื
้
ื
ู
้
็
ดวยมอหรอดวยการตดดวยลม (air knives) โลหะทองคาจะถกแยกออกมาเปนแผนเลกๆ โดยการละลายใน
ั
้
ำ
่
็
ี
คอปเปอร์ซับสเตรท (copper substrate) ในกรด หรือละลายทองคาในสารชะท่เป็นไซยาไนด์หรือไทโอยูเรีย และ
ำ
ตามด้วยการใช้ไฟฟ้า (electrowinning) หรือการแทนที่ด้วยสารเคมี หรือการตกตะกอนด้วยผงสังกะสี นอกจากนี้
ี
วิธีการใช้สารชะแบบท่ไม่มีความจาเพาะเจาะจง (non selective leachants) เพ่อละลายส่วนท่ไม่ใช่โลหะมีค่าของ
ำ
ื
ี
ึ
ี
ำ
ู
ั
ซากแผ่นวงจรพิมพ์น้น ก็ได้รับความสนใจเช่นกัน ซ่งมีผ้ทาการศึกษาเก่ยวกับความเป็นไปได้ในการใช้กรดแร่เจือจาง
(dilute mineral acid) และตามด้วยเทคนิคการรีไซเคิลโลหะ เช่น การสกัดด้วยตัวทำาละลาย การแลกเปลี่ยนไอออน
การดูดซับ และการทำาซีเมนเทชัน
ในประเทศอังกฤษมีโครงการวิจัยและพัฒนาที่สำาคัญ 2 โครงการ ที่ใช้วิธีการแยกโลหะด้วยการละลายทางเคมี
เพื่อรีไซเคิลซากแผ่นวงจรพิมพ์ โครงการแรกมาจากกลุ่มของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ซึ่งใช้สภาวะการชะละลายแบบ
เลือกละลายเฉพาะโลหะท่ต้องการ (selective dissolution-electrolytic recovery) สาหรับองค์ประกอบท่เป็นโลหะ
ี
ี
ำ
เด่ยว (discrete metal) ในข้นแรกจะทาการรีไซเคิลโลหะบัดกรีโดยใช้สารชะแบบเลือกชะเฉพาะโลหะบัดกรี (ไม่ละลาย
ั
ำ
ี
ทองแดงออกมา) ท่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ ประเภทกรดฟลูออโรโบริก (fluoroboric acid) จากน้นนาสารละลาย
ั
ี
ำ
ำ
ำ
ี
ึ
ิ
โลหะบัดกรีท่ได้ไปรีไซเคิลด้วยไฟฟ้าซ่งจะได้เป็นโลหะบริสุทธ์ออกมา ข้นถัดไปจะทาการเลือกชะทองแดงและ
ั
กลุ่มโลหะมีค่า (precious metal group: PMG) การดึงโลหะโดยวิธีแบบนี้ จะทำาก่อนที่จะบดย่อยและคัดแยกเชิงกล
(การคัดแยกด้วยแม่เหล็ก การคัดแยกด้วยกระแสไหลวน) ซึ่งมีข้อดี คือ ช่วยให้รีไซเคิลได้อย่างสมบูรณ์