Page 77 - E-Waste
P. 77

C       1        2       3       4       5        6
                                                                                                       73






                   ชนิดของรีเอเจนต์   ช่วงความ    ช่วง pH   เคมีพื้นฐาน   ระดับการวิจัย  ขอบเขตของการทำาเป็น
                                       เข้มข้น                                                เชิงพาณิชย์
                โบรมีน/โบรไมด์           สูง        1-3     ระบุไว้ชัดเจน     ต่ำา              ในอดีต

                ไทโอยูเรีย               สูง        1-2     ระบุไว้ชัดเจน  ค่อนข้างเป็นที่นิยม  บางความเข้มข้น
                ไทโอไซยาเนต              ต่ำา       1-3     ระบุไว้ชัดเจน     ต่ำา               ไม่มี

                กรดกัดทอง (aqua regia)   สูง      ต่ำากว่า 1  ระบุไว้ชัดเจน   ต่ำา          เชิงวิเคราะห์และ
                                                                                            การทำาให้บริสุทธิ์

                แอซิดเฟอร์ริกคลอไรด์     สูง      ต่ำากว่า 1  ระบุไว้ชัดเจน   ต่ำา       electrolytic Cu slimes
                เอทิลีนไทโอยูเรีย        สูง        1-2       ระบุไว้        ต่ำามาก             ไม่มี
                                                             ไม่ชัดเจน
                กระบวนการ Haber         ระบุไว้             สงวนลิขสิทธิ์    1 เรื่อง            ไม่มี
                                      ไม่ชัดเจน
                สารชะ Bio-D             ระบุไว้             สงวนลิขสิทธิ์    1 เรื่อง            ไม่มี
                                      ไม่ชัดเจน
                การทำาคลอริเนชัน         สูง        6-7        ง่าย          ในอดีต             ในอดีต
                ที่อุณหภูมิสูง

                                                                           ที่มา G. Hilson, A.J. Monhemius, J. Cleaner Prod, 2006

                     4.2.3�การชะด้วยไทโอยูเรีย�(thiourea)�
                                                                            ึ
                     สารไทโอยูเรีย (thiourea) จัดเป็นสารประกอบอินทรีย์ซัลเฟอร์ซ่งมีโครงสร้างคล้ายยูเรีย มีสูตรเคมี คือ
                                                                         ั
                                                                      ำ
                                                                         ้
                                                                             ั
                                                 ู
                                                  ี
                                                     ึ
                                                        ้
                                                          ็
                                                                ั
                                                                            ้
                                                     ่
                                                                                          ็
                                                                                       ็
                             ิ
                                                                                              ่
               CS(NH )  การวจยเกยวกบการใชไทโอยเรยซงใชเปนสารสกดทองคานนไดรบความสาเรจเปนอยางมาก ในการฟนฟ        ู
                                                                                                          ื
                                                                                                          ้
                                     ั
                                           ้
                                                                                    ำ
                                 ่
                              ั
                                 ี
                      2 2
                                                                               ำ
                                            ี
                          ำ
               สภาพทองคาจากสินแร่ในสภาวะท่เป็นกรด ไทโอยูเรียสามารถละลายทองคาและเกิดเป็นสารเชิงซ้อนประจุบวก
                                                                                                      ั
                                                                                                     ี
               (cationic complex) โดยปฏิกิริยาน้เกิดข้นอย่างรวดเร็วและสามารถสกัดทองคาได้ถึง 99% ปฏิกิริยาท่ข้วแอโนด
                                              ี
                                                   ึ
                                                                                 ำ
               แสดงดังปฏิกิริยาด้านล่าง  212
                                                                            +
                                            Au + 2CS(NH )    Au(CS(NH ) )  + e
                                                         2 2             2 2 2
                       นอกจากนี้มีผลการศึกษารายงานว่า อัตราการชะของทองคำานั้นขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของไทโอยูเรีย ค่าพีเอช
                                                                                                          ี
                                                                                         ี
               และออกซิแดนท์ และหากใช้เหล็กเฟอร์ริก (ferric iron) ในกรดซัลฟิวริกเป็นระบบท่มีประสิทธิภาพมากท่สุด
               โดยเหล็กเฟอร์ริกจะจับยึดไทโอยูเรียในสารเชิงซ้อนเหล็ก-ไทโอยูเรีย
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82