Page 78 - E-Waste
P. 78
74 E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ี
ำ
ื
ตารางท่ 4.2 แสดงการเปรียบเทียบกระบวนการชะด้วยไซยาไนด์และไทโอยูเรีย ในการฟ้นฟูสภาพทองคาจาก
ำ
สินแร่ทองท่สกัดได้ยาก พบว่ากระบวนการชะด้วยไทโอยูเรียทาการชะทองคาได้ 75% แต่ต้องใช้ไทโอยูเรียและ
ี
ำ
ำ
เฟอร์ริกซัลเฟตในปริมาณมาก ทาให้ไม่ค้มค่าในเชิงเศรษฐกิจ ถึงแม้ว่าไทโอยูเรียจะสามารถใช้เป็นรีเอเจนต์ชะทองคา
ำ
ุ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ก็ยังคงมีการนาไปใช้น้อยในเชิงการค้าเน่องด้วยปัจจัย 3 ประการ คือ (1) ไทโอยูเรียมีราคา
ำ
ื
ู
ู
ื
ี
ี
ั
ำ
้
แพงกวาไซยาไนด์ (2) ตองใชสารไทโอยเรยในกระบวนการสกดทองคาเป็นปริมาณสงเน่องจากไทโอยูเรย
่
้
ื
ำ
ถูกออกซิไดซ์ในสารละลายได้ง่าย และ (3) ข้นตอนการฟ้นฟูสภาพทองคาให้กลับคืนมาอย่างมีประสิทธิภาพน้น
ั
ั
ยังอยู่ในขั้นพัฒนา
ตารางที่�4.2� ผลของกระบวนการชะทองคำ�จากสินแร่ทองที่สกัดได้ยาก
การชะด้วยไซยาไนด์ การชะด้วยไทโอยูเรีย
การชะ การย่างและ การชะ กระบวนการ
การชะ CIL d
อุณหภูมิการย่าง (roasting) - 550 C แอคทีฟคาร์บอน (kg/ton สินแร่) - 50
o
อัตราส่วน S/L (g/ml) 1/1.5 1/1.5 อัตราส่วน S/L (g/ml) 1 /2 1 /2
NaCN (kg/ton สินแร่) 6.2 4.6 TU (kg/ton สินแร่) 15.2 15.2
a
b
Ca(OH) (kg/ton สินแร่) 8.2 2.9 FS (kg/ton สินแร่) 140.9 140.9
2
pH 10.5 10.5 SA (kg/ton สินแร่) 46.2 46.2
c
pH 1.5 1.5
เวลาในการชะ (h) 48 48 เวลาในการชะ (h) 5 5
ปริมาณทองคำา (%) 66.7 79.8 ปริมาณทองคำา (%) 66.8 74.9
a ไทโอยูเรีย, เฟอร์ริกซัลเฟต, กรดซัลฟิวริก, carbon in leach
b
c
d
ที่มา N. Gonen, E. Korpe, M.E. Yildirim, et al., Miner. Eng., 2007