Page 75 - E-Waste
P. 75
C 1 2 3 4 5 6
71
้
ำ
ี
ิ
ั
ี
้
ี
้
่
ี
้
ื
ิ
ื
ำ
มปญหาทางส่งแวดลอมท่เกดจากเหมองทองคา เช่น การปนเปอนของสารเคมทใชชะโลหะในแม่นาและ
น้ำาใต้ดิน ที่ทำาให้เกิดความกังวลอย่างมากต่อการใช้สารไซยาไนด์เป็นสารชะ ดังนั้นจึงได้มีการศึกษาและนำาเสนอสาร
ทดแทนไซยาไนด์เป็นจานวนมาก (ดังแสดงในตารางท่ 4.1) ซ่งในทางปฏิบัติ ตัวทาละลายประเภทไทโอยูเรียและ
ี
ำ
ำ
ึ
ไทโอซัลเฟตมักจะถูกนำามาใช้เป็นสารทดแทนมากที่สุด
4.2.2�การชะด้วยเฮไลด์
การใช้สารเฮไลด์ (ฟลูออรีน คลอรีน โบรมีน ไอโอดีน และแอสทาทีน) เพื่อละลายทองคำานั้น มีการใช้กันมา
ก่อนระบบที่ใช้ไซยาไนด์ ฮาโลเจนทั้งหมด (ยกเว้นฟลูออรีนและแอสทาทีน) ได้ถูกทดสอบและ/หรือนำามาใช้ในการ
สกัดทองคำา โดยทองคำาจะทำาปฏิกิริยากับคลอไรด์ โบรไมด์ และไอโอไดด์ ทำาให้เกิดสารประกอบเชิงซ้อน Au(I) และ
ุ
Au(II) ซ่งข้นอย่กับสภาวะทางเคมีของสารละลาย อย่างไรก็ตามในกล่มสารเฮไลด์น้นมีเพียงคลอรีน/คลอไรด์เท่าน้น
ั
ู
ั
ึ
ึ
่
ั
ี
ี
ั
ทถกนามาใชในอตสาหกรรมในระดบทมนยสาคญ อัตราการเกิดคลอริเนชัน (chlorination) จะเกิดได้ดีที่สภาวะที่มีค่า
ำ
ี
ั
้
ู
ุ
ำ
่
พเอชตา ระดับคลอไรด์และคลอรีนสูง อุณหภูมิสูงและพื้นที่ผิวสูง
ี
่
ำ
ั
ึ
ื
็
ตัวทำาละลายแบบเก่าสำาหรับละลายทองคำาและโลหะกลุ่มแพลทินัม คอ กรดกดทอง (aqua regia) ซงเปนของ
่
้
ผสมของกรดไฮโดรคลอรกเขมขน 3 ส่วน ต่อกรดไนตริกเข้มข้น 1 ส่วน โดยปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องในการชะด้วยกรดกัด
้
ิ
ทองแสดงดังปฏิกิริยาด้านล่าง 236
2HNO + 6HCl 2NO + 4H O + 3Cl
3 2 2
2Au + 11HCl + 3HNO 2HAuCl + 3NOCl + 6H O
3 4 2
ิ
ำ
้
่
้
์
ั
ี
ื
่
้
การชะทองคาดวยคลอรนหรอกรดกดทองนน ในทางปฏบตทาไดยากกวาการสกดดวยไซยาไนดเนองดวย
้
ำ
ั
้
ิ
ั
ั
ื
เหตุผลหลัก 2 ประการ คือ
• การสกัดด้วยคลอรีน ต้องใช้อุปกรณ์ที่ทำาจากเหล็กกล้าไร้สนิม (stainless steel) พิเศษและอุปกรณ์หุ้มยาง
ที่สามารถต้านทานสภาวะการกัดกร่อนที่สูงของกรดและการออกซิไดซ์ได้
ี
่
่
ิ
ู
ิ
้
้
็
๊
• แกสคลอรนมความเปนพษสงและจะตองไดรบการควบคมทเหมาะสมเพอหลกเลยงความเสยงตอการเกด
ี
ี
ี
่
ี
่
ื
ุ
ั
ี
่
ปัญหาด้านสุขภาพ