Page 80 - E-Waste
P. 80
76 E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ตารางที่�4.3� ค่าคงที่ความเสถียรของสารเชิงซ้อนทองคำ�
กลุ่มไอออนทองคำา ความเสถียร log K a เอกสารอ้างอิง
Au(CN) - 38.3 224
2
Au(SCN) - 16.98 224
2
Au(SCN) - 10 224
4
AuCl - 25.6 225
4
Au(NH ) + 26, 13 b 225, 226
3 2
Au(S O ) 3- 26.5, 28 227, 228
2 3 2
n
z+
a ค่าคงที่ K = [AuL ]/[Au ][L] สำาหรับปฏิกิริยา Au +nL=AuL ที่อุณหภูมิ 25 C
z+
o
n n
b คำานวณจากความสัมพันธ์ของพลังงานอิสระเชิงเส้น โดยมีความแรงของไอออน (ionic strength) = 1.0
ที่มา J. Cui, L. Zhang, Journal of Hazardous Materials, 2008
4.3�วิธีการรีไซเคิลโลหะมีค่าจากสารละลายชะ
ในการนำาโลหะมีค่ากลับคืนมาจากสารละลายที่ชะด้วยสารเคมีชนิดต่างๆ มีวิธีการที่ต่างกันไป ได้แก่ วิธีซีเมนเทชัน
(cementation) การสกัดด้วยตัวทำาละลาย (solvent extraction) การดูดซับบนแอคติเวเต็ดคาร์บอน (adsorption
on activated carbon) และการแลกเปลี่ยนไอออน (ion exchange)
4.3.1�การรีไซเคิลโลหะมีค่าจากสารละลายโดยวิธีซีเมนเทชัน�(cementation)
ื
ำ
ำ
ำ
ต้งแต่ช่วงทศวรรษท่ 1890 การทาซีเมนเทชันของสังกะสี ได้ถูกนามาใช้เพ่อนาทองคากลับคืนมาจากสารละลาย
ี
ั
ำ
ไซยาไนด์ในระดับเชิงการค้า โดยใช้กระบวนการที่เรียกว่า “กระบวนการ Merill-Crowe” ซึ่งมีการนำาไปใช้กันทั่วโลก
ปฏิกิริยาหลักของกระบวนการทำาซีเมนเทชันของสังกะสี คือ การให้ทองคำาไปเกาะที่ขั้วแคโทด (cathodic deposition)
และเกิดการกัดกร่อนสังกะสีท่ข้วแอโนด (anodic corrosion) ซ่งจะเกิดข้นท่ผิวหน้าของอนุภาคสังกะสี แสดงดัง
ั
ึ
ี
ี
ึ
สมการด้านล่าง 238