Page 87 - E-Waste
P. 87
C 1 2 3 4 5 6
83
ี
ำ
มีการศึกษาการเก่ยวกับความสามารถในการนากระบวนการแยกโลหะด้วยการชะละลาย
ี
ำ
ทางเคมี ท่เป็นไปได้ในทางเศรษฐกิจ ไปใช้ในการนาโลหะมีค่ากลับคืนมาจากซากโทรศัพท ์
เคล่อนที่ โดยวัสดุเร่มต้นมีทองแดง 27.37% เงิน 0.52% ทองคา 0.06% และแพลเลเดียม 0.04%
ำ
ื
ิ
ี
้
ุ
ี
่
วสดนจะถกบดดวยเครองบดโลหะ จากนนจะนาวสดทบดแลวไปทาการคดแยกออกเปน 4 กลม
ุ
้
้
ื
่
ู
ั
ั
ำ
ั
ุ
็
่
ำ
ั
้
ในขนาด +1.168 มิลลิเมตร, -1.168+0.6 มิลลิเมตร, -0.6+0.3 มิลลิเมตร และ -0.3 มิลลิเมตร
โดยอนุภาคส่วนท่มีขนาดเล็กท่สุดจะนามาทาการศึกษาด้วยกระบวนการละลายทางเคมีต่างๆ
ำ
ี
ี
ำ
เช่น ชะด้วยกรดซัลฟิวริก ชะด้วยคลอไรด์ ชะด้วยไทโอยูเรีย ชะด้วยไซยาไนด์ การทำาซีเมนเทชัน
การตกตะกอน การแลกเปลี่ยนไอออน และการดูดซับด้วยแอคติเวเต็ดคาร์บอน รูปที่ 4.1 แสดง
ขั้นตอนในการฟื้นฟูสภาพโลหะจากขยะอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การละลายทางเคมี โดยแนวทาง
ี
ั
ำ
นี้จะได้เงินกลับคืนมา 93% ทองคำา 95% และแพลเลเดียม 99% สาหรบปรมาณรเอเจนตแตละ
ิ
์
่
ชนิดที่จำาเป็นสำาหรับวัสดุเริ่มต้น 1 ตัน แสดงไว้ดังตาราง 4.5
ี
ำ
ำ
ี
นอกจากน้ มีการศึกษาการเก่ยวกับกระบวนการนาทองคากลับคืนมาจากขยะในอุตสาหกรรม
อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องประดับ ในรูป 4.2 แสดงกระบวนการละลายทางเคมีซึ่งประกอบด้วย
ำ
ข้นตอนต่างๆ ดังน้ (a) การทาคาร์บอไนเซชัน (carbonization) และการย่าง (roasting)
ี
ั
ื
ู
ำ
ิ
่
ื
ุ
ี
่
ทอณหภมตา (b) ชะด้วยสารละลายกรดไนตริก (nitric acid) เพ่อขจัดเงินและโลหะอ่นๆ
(c) ชะด้วยกรดกัดทอง (d) เลือกสกัดทองคาด้วยตัวทาละลายโดยใช้ไดเอทิลมาโลเนต
ำ
ำ
(diethyl malonate) (e) คัดแยกโลหะทองคำาออกจากเฟสอินทรีย์ด้วยการรีดักชัน
ในข้นตอนการทาให้บริสุทธ์ ได้มีผลการศึกษาเกี่ยวกับสารท่ใช้สกัดชนิดต่างๆ ได้แก่
ิ
ั
ำ
ี
ิ
ิ
เฮกซานอล (hexanol), เมทลไอโซบวทลคโทน (methyl-iso-butyl ketone), ไดเอ็นบวทลคโทน
ิ
ิ
ิ
ี
ี
(di-n-butylketone), ไดเอทิลมาโลเนต, ไดบิวทิลอีเทอร์ (dibutyl ether), เอทิลีนไกลคอล
(ethylene glycol), เอ็นเอมิลอีเทอร์ (n-amylether), ไอโซเอมิลอีเทอร์ (iso-amyl ether),
2,2-ไดคลอรเอทิลอีเทอร์ (2,2-dichloroethyl ether), ไตรบิวทิลฟอสเฟต (tributylphosphate:
TBP) และส่วนของน้ำามันธรรมชาติ (natural oil) จำานวนมาก โดยคุณสมบัติสำาคัญที่นำามาพิจารณา
ำ
เลือกสารสกัดท่เหมาะสมได้แก่ความสามารถในการเลือก (selectivity) ปริมาณของทองคาท่สามารถ
ี
ี
สกัดได้ ความสามารถในการทนกรดกัดทอง การแยกเฟสของสารอินทรีย์กับสารละลาย และราคา
ี
ั
ำ
่
่
ี
็
ึ
ั
้
ของสารท่ใชสกด จากผลการศกษาพบวาไดเอทิลมาโลเนตเปนสารทใช้สกดทดทสุดสาหรบการ
ี
ั
ี
่
ี
่
นาไปใช้ในอุตสาหกรรม เนื่องจากแสดงค่าสัมประสิทธิ์การสกัดที่สูงมากภายใต้สภาวะที่เหมาะสม
ำ
และมีปริมาณทองคำาอิ่มตัวสูงสุด คือ 140 กรัมต่อลิตร และมีความสามารถในการเลือกที่ดี