Page 83 - E-Waste
P. 83
C 1 2 3 4 5 6
79
4.3.3�การรีไซเคิลโลหะมีค่าจากสารละลายโดยใช้แอคติเวเต็ดคาร์บอน
เทคนิคการนำาทองคำาและสารเชิงซ้อนซิลเวอร์ไซยาไนด์กลับคืนมาโดยใช้แอคติเวเต็ดคาร์บอนนั้น ได้จดสิทธิบัตร
ั
ั
ิ
โดย McQuiston และ Chapman ในปี พ.ศ. 2507 และนับต้งแต่น้นก็มีต่อยอดการพัฒนาใหม่ๆ เพ่มเติมข้นมา
ึ
ในปัจจุบันกระบวนการ carbon-in-pulp (CIP) และ carbon-in-leach (CIL) ถูกใช้กันมากในเชิงพาณิชย์สำาหรับ
การนำาทองคำากลับคืนมาจากสารละลายไซยาไนด์
ำ
ำ
ี
มีนักวิจัยจานวนมากท่สนใจศึกษากลไกการดูดซับทองคาจากสารละลายลงบนแอคติเวเต็ดคาร์บอนได้รับ
ั
ำ
สาหรับกระบวนการดูดซับของแข็ง/ของเหลวน้น มีสมการไอโซเทอร์มัลจานวนสองแบบท่ร้จักกันดี แบบแรก คือ
ำ
ี
ู
สมการ Langmuir isotherm 246
Q bC
Q = max
(1+bC)
เมื่อ Q คือ ปริมาณตัวถูกละลาย (solute) ที่ถูกดูดซับต่อน้ำาหนักคาร์บอนหนึ่งหน่วย
Q คือ ความสามารถในการดูดซับสูงสุด
max
C คือ ความเข้มข้นสมดุล (equilibrium concentration) ของสารที่ถูกดูดซับ (adsorbate)
ในสารละลาย
b คือ ค่าคงที่สมดุลการดูดซับ
ในระบบที่มีหลายองค์ประกอบ (i = 1,2,…,k) สามารถเขียนสมการ Langmuir isotherm ได้ดังนี้
b C
Q = io i
i k
1+∑ bC
j=l j j
เมื่อ Q คือ ปริมาณตัวถูกละลาย i ที่ถูกดูดซับต่อน้ำาหนักคาร์บอน
i
หนึ่งหน่วยที่ความเข้มข้นสมดุล C ในสารละลายที่มีตัวถูกละลาย k ตัว
i
ฺ
b = Q b
max i i
io
b คือ ค่าคงที่สมดุลของการดูดซับ สำาหรับตัวถูกละลาย i
i