Page 91 - E-Waste
P. 91
C 1 2 3 4 5 6
87
ำ
์
ั
ั
ั
สาหรับการจบตวกนด้วยไฟฟ้า (electrodeposition) จากสารผสมสองชนิดของคอปเปอร(II)ไนเตรต
(Cu(NO ) ) 0.1 โมลาร์ และเลด(II)ไนเตรต (Pb(NO ) ) 0.025 โมลาร์ ในกรดไนตริก 0.5 โมลาร์
3 2
3 2
โดยทองแดงจะจับตัวกันที่ขั้วแคโทดและเลดไดออกไซด์ (lead dioxide) จะจับตัวกันที่ขั้วแอโนด
ื
ยังมีการศึกษาเก่ยวกับการฟ้นฟูสภาพทองแดงจากซากแผ่นวงจรพิมพ์ โดยใช้กระบวนการทาง
ี
ั
ื
กลและการแยกโลหะด้วยไฟฟ้า ในกระบวนการท่ใช้ไฟฟ้าน้น จะใช้สารละลาย 2 ชนิดเพ่อนาทองแดง
ี
ำ
กลบคนมา ซงไดแก กรดกดทอง และกรดซัลฟิวริก ผลการทดลองแสดงว่า ปริมาณทองแดง
่
ื
ั
้
ึ
่
ั
ั
ในสารละลายจะลดลงอย่างรวดเร็วในทุกๆ การทดสอบ และสาหรับตัวอย่างท่ละลายด้วยกรดซัลฟิวริกน้น
ี
ำ
ั
ี
์
่
้
ี
ิ
การลดลงจะเกิดข้นในช่วงเวลาท่ส้นกว่าตัวอย่างท่ละลายด้วยกรดกัดทอง ปรากฏการณนอธบายไดวา
ึ
ี
้
เน่องจากมีไนเตรตไอออน (NO ) อย่ในสารละลายกรดกัดทอง ซ่งสามารถประพฤติตัวเป็นสาร
ึ
ู
ื
-
3
ออกซิไดซ์ได้ จึงทำาให้ประสิทธิภาพของกระบวนการที่ใช้ไฟฟ้านี้ลดลง HNO
3
ั
ำ
มีการศึกษาการนานิกเกิล ทองแดง ดีบุก และตะก่ว กลับคืนมาจากซากตัวเก็บประจุเซรามิก
หลายชน (multilayer ceramic capacitor: MLCC) หรอจากสารละลายลางกัดรอยทเปนไนตรก NO
ื
้
ั
็
ิ
่
้
ี
(nitric etching solution) ท่ถูกใช้ในการผลิตแผ่นวงจรพิมพ์ ผลการศึกษาพบว่าอัตราการชะนิกเกิล 3
ี
จาก MLCC ในสารละลายไนตริกมีค่ามากกว่าท่ได้จากสารละลายไฮโดรคลอริกและซัลฟิวริก
ี
ซึ่งสามารถสกัดนิกเกิลได้ 97% เมื่อใช้กรดไนตริก 1 โมลาร์ ที่อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส โดยใช้เวลา
ในการทำาปฏิกิริยา 90 นาที ที่ความหนาแน่นของเศษวัสดุเท่ากับ 5 กรัมต่อลิตร
ุ
ื
้
ข้อมูลสรปการพัฒนาวิธีการฟ้นฟูสภาพโลหะจากซากอิเล็กทรอนิกส์โดยใชเทคนิคการแยก
่
โลหะด้วยการชะละลายทางเคมีแสดงไว้ในตาราง 4.6 ซงจะเหนได้ว่าเทคนิคการแยกโลหะด้วยการชะ
็
ึ
ี
ี
ื
ละลายทางเคมีส่วนใหญ่ท่ใช้ในการฟ้นฟูสภาพโลหะจากซากอิเล็กทรอนิกส์ จะเก่ยวข้องกับการ
ั
ชะด้วยกรดและ/หรือการชะด้วยเฮไลด์ ท้งน้เน่องจากการชะด้วยกรดเป็นวิธีท่สามารถใช ้
ี
ี
ื
ในการนาโลหะพ้นฐานออกจากผิวหน้าของโลหะมีค่าได้ แต่อย่างไรก็ตามในการพัฒนา
ำ
ื
ำ
เทคนิคท่เป็นมิตรต่อส่งแวดล้อมสาหรับการฟ้นฟูสภาพโลหะมีค่าจากขยะ
ี
ิ
ื
ิ
อิเล็กทรอนิกส์ เราควรให้ความสนใจต่อการประเมินผลกระทบทางส่งแวดล้อม
ู
ี
ของแต่ละเทคนิคควบค่กันไปด้วย ตารางท่ 4.7 แสดงการเปรียบเทียบ
วิธีการชะ 4 วิธีหลัก โดยวิเคราะห์ทั้งความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจและผลกระทบ
ทางส่งแวดล้อม ซ่งจะเห็นว่าการชะด้วยไซยาไนด์มีความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจ
ิ
ึ
มากท่สุดในการฟ้นฟูสภาพโลหะมีค่าจากขยะอิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ตาม
ี
ื
การชะด้วยไซยาไนด์และการชะด้วยไทโอยูเรียจะได้ผลสุดท้ายท่เหมือนกันหาก
ี
พิจารณาถึงความเป็นพิษของรีเอเจนต์ควบคู่กันไปด้วย