Page 90 - E-Waste
P. 90

86        E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์




                           ี
                                                                                           ื
                  นอกจากน้ ได้มีการจดสิทธิบัตรเก่ยวกับเทคนิคการแยกโลหะด้วยการละลายทางเคมีเพ่อฟ้นฟูสภาพโลหะ
                                               ี
                                                                                             ื
            มีค่าจากซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยการนำาซากดังกล่าวใส่ลงในสารละลายไฮโดรคลอริกที่มีกรดไฮโดรคลอริก
            180 กรัมต่อลิตร และแมกนีเซียมคลอไรด์ (MgCl ) 250 กรัมต่อลิตร เป็นเวลา 3 ช่วโมงท่อุณหภูมิ 80-95
                                                                                      ั
                                                                                            ี
                                                       2
            องศาเซลเซียส ในช่วงเวลาดังกล่าวสารละลายนั้น จะสามารถสกัดอะลูมิเนียมได้ 98% ดีบุก 94% ตะกั่ว 96% และ
            สังกะสี 94% ในการนำาทองแดงกลับคืนมานั้น กากของแข็งที่เหลือจะถูกนำามาบำาบัดด้วยสารละลายกรดไฮโดรซัลฟิวริก
                                                                                                   ี
            ท่มีกรดซัลฟิวริก 50 กรัมต่อลิตร และแมกนีเซียมคลอไรด์ 200 กรัมต่อลิตร เป็นเวลา 2.5 ช่วโมงท่อุณหภูมิ
                                                                                             ั
              ี
            80 องศาเซลเซียส ศักย์ไฟฟ้ารีดอกซ์ (redox-potential) ของระบบการชะที่มีค่าประมาณ 550 มิลลิโวลต์ จะถูกปรับค่า
                                                                                          ้
                                                              ั
            โดยการใส่สารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 50% ลงในเศษวสดุท่ถูกคน ซ่งกระบวนการน้ทาใหได้ทองแดงมากกว่า
                                                                                       ำ
                                                                                      ี
                                                                         ึ
                                                                  ี
            96% และได้นิกเกิล 98% อยู่ในสารละลาย หลังจากนำาไปกรองและล้างแล้ว จะนำากากของแข็งที่เหลือใส่ลงในสารละลาย
            อะซิดิกโซเดียมโบรไมด์ (acidic sodium bromide) ที่มีกรดไฮโดรคลอริก 30 กรัมต่อลิตร และไอออนของโบรไมด์
                                                                                        ี
                              ื
            180 กรัมต่อลิตร เพ่อนาโลหะมีค่ากลับคืนมา โดยในระหว่างการคนเศษวัสดุ (pulp) น้ จะต้องใส่สารละลาย
                                ำ
            ไตรไอโซบิวทิลฟอสฟีนซัลฟอกไซด์ (triisobutylphosphinesulfoxide) 10% ลงในไตรบิวทิลฟอสเฟต และคโรซน
                                                                                                     ี
                                                                                                        ี
                                     ำ
                                                                                ึ
                                                                                     ำ
            นอกจากน้ระบบการชะจะถูกบาบัดต่อไปอีกด้วยสารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ซ่งจะทาให้ศักย์ไฟฟ้ารีดอกซ์ของ
                     ี
            ระบบนี้อยู่ที่ระดับใกล้เคียงกับ 850 มิลลิโวลต์ และอุณหภูมิไม่เกิน 60 องศาเซลเซียส เศษวัสดุดังกล่าวจะต้องใช้เวลา
            ในการคน 3 ชั่วโมง เพื่อให้ตัวทำาละลายอินทรีย์สามารถสกัดทองคำาได้มากกว่า 98% เงิน 84% แพลเลเดียม 96%
            และแพลทินัม 92% ทั้งนี้โลหะต่างๆ จะถูกสกัดออกมาจากสารละลายอินทรีย์ได้โดยการตกตะกอนโดยใช้ผงสังกะสี
            ในตัวกลางที่เป็นกรด
                  ได้มีการศึกษาเกี่ยวกับการนำาโลหะพื้นฐาน เช่น ทองแดง ตะกั่ว และดีบุก กลับคืนมาจากซากแผ่นวงจรพิมพ์
                                                                                                 ำ
            โดยใช้กระบวนการชะและกระบวนการทางไฟฟ้าเคมี โดยรูปท่ 4.3 แสดงไดอะแกรมของกระบวนการนาโลหะกลับ
                                                               ี
            คืนมา ซึ่งพบว่าการลดขนาดของซากแผ่นวงจรพิมพ์ นั้นมีความจำาเป็น เนื่องจากแผ่นวงจรจะประกอบด้วยชั้นวงจร
                                                                              ั
                                                                                ี
            หลายช้น ซ่งทาให้สารละลายท่ใช้ชะ (stripping solution) ไม่สามารถเข้าถึงช้นท่อย่ข้างในได้ ประสิทธิภาพของ
                                                                                   ู
                  ั
                        ำ
                                      ี
                      ึ
            การนาทองแดงและตะก่วกลับคืนมาจะข้นกับค่าพีเอช โดยเม่อใช้กรดไนตริก (HNO ) 0.5 โมลาร์ จะได้ค่าประสิทธิภาพ
                 ำ
                               ั
                                            ึ
                                                            ื
                                                                              3
            กระแส (current efficient: CE) สูงสุด 43% ที่ความหนาแน่นกระแส (current density) 20 มิลลิแอมแปร์ต่อตาราง
            เซนติเมตร และประสิทธิภาพจะลดลงเมื่อความหนาแน่นกระแสลดลงและความเข้มข้นของกรดเพิ่มขึ้น และจะลดลง
            มาถึงประมาณ 5% ที่ HNO  5 โมลาร์ สำาหรับการจับตัวกันของทองแดงและตะกั่วที่น้อยลงเมื่อความเข้มข้นของกรด
                                   3
                            ื
            ไนตริกสูงข้นน้น เน่องมาจากทองแดงและตะก่วเกิดการละลายซา (re-dissolution) นอกจากน้ยังมีทางเลือกอีกแบบ
                     ึ
                        ั
                                                                ำ
                                                                ้
                                                 ั
                                                                                         ี
                 ี
                     ำ
            หน่งท่จะนาตะก่วและทองแดงกลับคืนมาได้เช่นกัน น่นคือการใช้สารชะละลายจาลอง (simulated leaching solution)
               ึ
                         ั
                                                                           ำ
                                                      ั
            ซ่งเป็นสารละลายไนเตรตของตะก่วและทองแดงในกรดไนตริก โดยจะใช้เคร่องปฏิกรณ์ไฟฟ้าทรงกระบอกหมุน
                                                                             ื
                                         ั
              ึ
            (rotating cylinder electrode reactor) แบบไม่แยกส่วน (undivided) ที่ทำางานในโหมดแบบกะ (batch mode)
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95