Page 85 - E-Waste
P. 85

C       1        2       3       4       5        6
                                                                                                       81






                                                           Q =  k Ct n
                                                                 e


                     เมื่อ       Q      คือ  การดูดซับทองคำาที่เพิ่มขึ้นบนแอคติเวเต็ดคาร์บอน
                             k  e  และ n  คือ ค่าคงที่อย่างง่าย
                             C          คือ ความเข้มข้นของทองคำาในสารละลาย

                             t          คือ เวลา


                     4.3.4�การรีไซเคิลโลหะมีค่าจากสารละลายโดยใช้การแลกเปลี่ยนไอออน
                     เราสามารถนำาทองคำากลับคืนมาจากสารชะได้โดยใช้เรซินแลกเปลี่ยนไอออน (ion exchange resin) เรซิน

               IEX (มีส่วนประกอบประเภทแอมโมเนียมและมีสภาพเป็นเบสแก่) ซึ่งมีขายทั่วไปในท้องตลาดนั้น สามารถนำามาใช้
               แยกทองคำากลับคืนมาจากสารละลายไทโอซัลเฟตได้อย่างมีประสิทธิภาพ


                     การนาทองคากลับคืนมาจากสารละลายแอมโมเนียคัลไทโอซัลเฟตท่มีทองแดงโดยใช้คอลัมน์แลกเปล่ยนไอออนน้น
                                                                                                  ี
                                                                                                           ั
                                                                         ี
                         ำ
                               ำ
               ได้มีการศึกษาโดย ใช้เรซิน Dowex G51, Dowex 21K และ amberlite IRA-410 เรซินเหล่าน้เป็นเรซินชนิด
                                                                                                 ี
                   ั
                                                                ู
               เจลท้งหมด ซ่งมีพอลิสไตรีนไดไวนิลเบนซีนเมทริกซ์และหม่ฟังก์ชันควอเทอร์นารีแอมโมเนียม ผลการศึกษาพบว่า
                           ึ
                                   ำ
                 ื
               เม่อไม่มีทองแดง ทองคาจะสามารถเกาะบนเรซินและแลกเปล่ยนไอออนกับสารละลายไทโอซัลเฟตได้อย่างรวดเร็ว
                                                                  ี
                                                                                                ึ
                                       ำ
                                               ื
                                                                   ี
                                                                             ี
               และมีความเข้มข้นของทองคาสูง แต่เม่อมีทองแดงการแลกเปล่ยนไอออนท่มีประสิทธิภาพจะเกิดข้นเฉพาะภายใต ้
                       ำ
                      ี
               สภาวะท่จากัด เน่องจากความไม่เสถียรของสารละลายไทโอซัลเฟต และเกิดการรบกวนจากพอลิไทโอเนต (polythionate)
                             ื
               4.4�กรณีตัวอย่าง�การรีไซเคิลโลหะจากขยะอิเล็กทรอนิกส์ด้วยวิธีโลหะวิทยาสารละลาย
                     ในทศวรรษที่ 1970 และก่อนกลางทศวรรษที่ 1980 วิธีการหลักในการรีไซเคิลซากอิเล็กทรอนิกส์ คือ การถลุง
               ในเตาหลอม (blast furnace) ร่วมกับการถลุงในโรงถลุงทองแดงหรือตะกั่วมือสอง ต่อมาตั้งแต่กลางทศวรรษที่ 1980
               กระบวนการทางโลหะวิทยาสารละลายมีแนวโน้มท่จะถูกนามาประยุกต์ใช้กับงานรีไซเคิลโลหะจากขยะอิเล็กทรอนิกส ์
                                                              ำ
                                                        ี
               เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการรีไซเคิลโลหะมีค่าจากซากแผ่นวงจรพิมพ์ ในหัวข้อนี้จะรวบรวมกรณีตัวอย่างและเทคนิคของ
               กระบวนการโลหะวิทยาสารละลายประเภทต่างๆ ซึ่งจะให้แนวคิดของกระบวนการรีไซเคิลในทางปฏิบัติได้ชัดเจนขึ้น
               และได้มีการสรุปแนวทางการพัฒนาเทคนิคการแยกโลหะด้วยการชะละลายทางเคมีเพ่อรีไซเคิลโลหะจากขยะ
                                                                                         ื
               อิเล็กทรอนิกส์ไว้ในตารางที่ 4.6
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90