Page 98 - E-Waste
P. 98

94        E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์




                  กลไกทางอ้อม จุลินทรีย์จะออกซิไดซ์เหล็กเฟอร์รัส (Fe ) และกลายเป็นเหล็กเฟอร์ริก (Fe ) ซึ่งเหล็กเฟอร์ริกท ่ ี
                                                             2+
                                                                                         3+
                        ำ
                              ี
                                                                              ำ
            ได้จะเป็นตัวทาหน้าท่ออกซิไดซ์โลหะซัลไฟด์ให้กลายเป็นโลหะซัลเฟตท่ละลายนาได้และยังได้ผลิตภัณฑ์เป็นเหล็ก
                                                                       ี
                                                                              ้
                                                   ์
            เฟอร์รัสซึ่งก็จะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็นเหล็กเฟอรรกอีกครั้ง ซึ่งสามารถแสดงด้วยปฏิกิริยาอย่างง่ายดังนี้  173
                                                    ิ
                                             MS + 2Fe    M  + 2Fe  + S   o
                                                            2+
                                                                   2+
                                                      3+
                                             2Fe  +0.5O  +2H  2Fe  +H O
                                                                   3+
                                                             +
                                                2+
                                                       2               2
                                                                            So = elemental sulfur, oxidation number = 0
                  มีการศึกษากลไกการชะโลหะซัลไฟด์ด้วยแบคทีเรียโดยวิธีการชะทางอ้อมพบว่า โลหะซัลไฟด์จะถูกชะด้วย
            กลไกการเกิดปฏิกิริยา 2 แบบ คือ เส้นทางไทโอซัลเฟต (thiosulfate) และเส้นทางพอลิซัลไฟด์ (polysulfide)
                 ั
            โดยท่วไปการละลายจะสาเร็จได้ด้วยการผสมผสานกันของกระบวนการเข้าทาปฏิกิริยาของโปรตอนและกระบวนการ
                                ำ
                                                                          ำ
            ออกซิเดชัน เส้นทางของการเกิดปฏิกิริยาจะกำาหนดโดยประเภทของแร่ธาตุกลุ่มต่างๆ อย่างไรก็ตาม โครงสร้างผลึก
            (เช่น โครงสร้างมอนอซัลไฟด์ หรือโครงสร้างไดซัลไฟด์) จะไม่ได้เป็นตัวกำาหนดเส้นทางของการละลาย


                  5.1.1.1�โลหะซัลไฟด์ที่ไม่ละลายในกรด:�เส้นทางไทโอซัลเฟต�(S O )
                                                                            2-
                                                                        2 3
                                                                                   ี
                  กลไกของไทโอซัลเฟตจะมาจากการออกซิไดซ์ไอออนเหล็ก(III) บนโลหะซัลไฟด์ท่ไม่ละลายในกรด เช่น ไพไรต์
            (pyrite: FeS ), โมลิบดินัมไดซัลไฟด์ (molybdenum disulfide: MoS ) และทังสเตนไดซัลไฟด์ (tungsten
                        2
                                                                          2
            disulphide: WS ) เป็นต้น ในที่นี้สารระหว่างทางประเภทซัลเฟอร์ที่พบ คือ ไทโอซัลเฟต กลไกของไทโอซัลเฟต
                           2
            สามารถอธิบายง่ายๆ ด้วยสมการดังต่อไปนี้  176



                                       FeS  + 6Fe  + 3H O   S O  + 7Fe  + 6H   +
                                                 3+
                                                                        2+
                                                                 2-
                                           2            2     2 3
                                                                         2+
                                                 3+
                                                                 2-
                                      S O  + 8Fe  + 5H O   2SO  + 8Fe  + 10H    +
                                          2-
                                       2 3              2        4
                  �5.1.1.2��      โลหะซัลไฟด์ที่ละลายในกรด:�เส้นทางพอลิซัลไฟด์�(�H S )
                                                                                2 n
                  กลไกของพอลิซัลไฟด์เป็นการละลายโดยการเข้าทาปฏิกิริยาของไอออนเหล็ก(III) และ/หรือโดยโปรตอน
                                                            ำ
            ในกรณีนี้ สารระหว่างทางประเภทซัลเฟอร์ที่พบ คือ พอลิซัลไฟด์ (และธาตุซัลเฟอร์) ซึ่งทั้ง 2 กลไกนี้สามารถอธิบาย
            ได้ด้วยสมการอย่างง่ายดังต่อไปนี้  176
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103