Page 97 - E-Waste
P. 97
C 1 2 3 4 5 6
93
ำ
กระบวนการดูดซับทางชีวภาพเป็นการทาปฏิกิริยาทางกายภาพ-เคมีแบบท่ไม่รุนแรง ระหว่างหม่ท่มีประจ ุ
ี
ู
ี
ึ
ี
บนผิวหน้าของจุลินทรีย์กับไอออนในสารละลาย ซ่งสามารถใช้ได้กับท้งส่งมีชีวิตท่ยังมีชีวิตและไม่มีชีวิต จุลินทรีย ์
ั
ิ
จำานวนมาก เช่น สาหร่าย (algae) แบคทีเรีย ยีสต์ และฟังไจ (fungi) สามารถสะสมโลหะหนักและโลหะมีค่าได้อย่าง
รวดเร็ว กระบวนการดูดซับทางชีวภาพให้ข้อดีหลายประการเม่อเปรียบเทียบกับวิธีการแบบเก่าท่ใช้ อาทิ ต้นทุน
ื
ี
การดำาเนินการต่ำา ใช้ปริมาณสารเคมีและ/หรือกากชีวภาพ (biological sludge) น้อยที่สุด และมีประสิทธิภาพสูงใน
การขจัดความเป็นพิษของน้ำาทิ้ง (effluent)
การรีไซเคิลโลหะด้วยเทคโนโลยีชีวภาพมีกระบวนการท่เก่ยวข้อง 2 กระบวนการ คือ การชะด้วยจุลินทรีย์
ี
ี
ำ
(bioleaching) และการดูดซับทางชีวภาพ (biosorption) การชะด้วยจุลินทรีย์ประสบความสาเร็จในการนาไปใช ้
ำ
ี
ื
ื
เพ่อฟ้นฟูโลหะจากซัลไฟด์ของโลหะพ้นฐานและโลหะมีค่า โดยการใช้ปฏิกิริยาท่มีแบคทีเรียเป็นตัวช่วย การสกัดโลหะ
ื
ต่างๆ เช่น โคบอลต์ (Co), โมลิบดินัม (Mo), นิกเกิล (Ni), ตะกั่ว (Pb) และสังกะสี (Zn) จากสินแร่ที่มีซัลไฟด์โดย
ั
ำ
ใช้การชะด้วยจุลินทรีย์น้น มีความเป็นไปได้ในทางเทคนิค อย่างไรก็ตามปัจจุบันมีเพียงโลหะทองแดงและทองคา
เท่านั้นที่มีการผลิตในทางอุตสาหกรรมในสัดส่วนที่มีนัยสำาคัญด้วยวิธีการนี้
5.1�การชะด้วยจุลินทรีย์�(bioleaching)
5.1.1�กลไกการออกซิเดชันโลหะซัลไฟด์ด้วยแบคทีเรีย
ิ
ี
ั
ิ
่
์
ิ
ุ
ี
้
ั
ี
ั
กลไกการชะโลหะซลไฟดดวยแบคทเรย โดยทวไปมกลไกทจลนทรยจะสามารถเพมอตราการชะโลหะจากสนแร ่
ี
่
ี
่
์
ได้ 2 แบบ คือ
กลไกทางตรง จุลินทรีย์จะออกซิไดซ์โลหะซัลไฟด์โดยตรงในสภาวะที่เป็นกรด และกลายเป็นโลหะซัลเฟตที่
ละลายน้ำาได้ ซึ่งสามารถแสดงด้วยปฏิกิริยาอย่างง่ายดังนี้ 173
MS + H SO + 0.5O MSO + S + H O
o
2 4 2 4 2
S + 1.5O + H O H SO
o
2 2 2 4
So = elemental sulfur, oxidation number = 0