Page 81 - E-Waste
P. 81

C       1        2       3       4       5        6
                                                                                                       77





                                                  2Au(CN)  + 2e   2Au + 4CN   -
                                                            -
                                                           2
                                                   Zn + 4CN    Zn(CN)  + 2e
                                                                        2-
                                                             -
                                                                        4

                        ในทางปฏิบัติ ถ้าความเข้มข้นของไซยาไนด์ลดลงมากเกินไป ชั้นฉนวน (passivating layer) ของซิงก์ไฮดรอกไซด์

                  อาจเกิดข้นบนผิวหน้าของอนุภาคสังกะสีได้ ซ่งมีรายงานว่าการทาซีเมนเทชันทองคาจะเกิดข้นอย่างคงท่ในช่วงพีเอช
                                                       ึ
                          ึ
                                                                                            ึ
                                                                                     ำ
                                                                      ำ
                                                                                                      ี
                                                        ั
                                    ิ
                  8-11 อย่างไรก็ตาม ส่งเจือปนต่างๆ เช่น ตะก่ว ทองแดง นิกเกิล อาร์เซนิก พลวง และซัลเฟอร์ จะทาให้การทา
                                                                                                               ำ
                                                                                                       ำ
                  ซีเมนเทชันทองคำามีประสิทธิภาพต่ำาลงอย่างมาก
                                ี
                                          ำ
                        นอกจากน้การนำาทองคากลับคืนมาจากสารละลายไทโอยูเรีย ไทโอซัลเฟต หรือไทโอไซยาเนตโดยการรีดักชัน-
                  ตกตะกอน (reduction-precipitation) สามารถทาได้โดยใช้สารละลายรีดิวซ่งเอเจนต์ของโซเดียมโบโรไฮไดรด์
                                                                                   ิ
                                                             ำ
                  (NaBH ) 12% และโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 40% โดยน้ำาหนัก เมื่อเติมสารละลายรีดิวซิ่งเอเจนต์ลงไป ทำาให้
                         4
                                                                                                               ั
                                                                                  ำ
                             ำ
                  ไอออนทองคาถูกรีดิวซ์จากสารละลายกรดของไทโอยูเรียกลายเป็นโลหะทองคาได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้กระท่ง
                  ที่อุณหภูมิห้อง ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นได้ทั้งสารละลายที่เจือจางมากๆ และสารละลายที่เข้มข้นมากๆ
                        4.3.2�การรีไซเคิลโลหะมีค่าจากสารละลายโดยใช้การสกัดด้วยตัวทำ�ละลาย
                        การสกัดด้วยตัวทำาละลายนั้นได้มีการศึกษากันเพื่อนำามาใช้ในการสกัดทองคำา โดยศึกษาระบบการสกัดต่างๆ
                  เช่น อนุพันธ์ของออร์แกโนฟอสฟอรัส อนุพันธ์ของกวานิดีน (guanidine) และสารผสมของเอมีน-อนุพันธ์ของ
                                                                       ี
                                                                                           ี
                  ออร์แกโนฟอสฟอรัส ตารางท่ 4.4 แสดงการเปรียบเทียบสารท่ใช้สกัด (extractant) ท่มีต่อการสกัดสารเชิงซ้อน
                                           ี
                  ออโรไซยาไนด์ (aurocyanide) ซึ่งจะเห็นว่าสารท่ใช้สกัด LIX-79 สามารถใช้สกัดทองคาจากตัวกลางท่เป็นไซยาไนด  ์
                                                                                                    ี
                                                                                        ำ
                                                          ี
                  อัลคาไลน์ได้ แต่สารเชิงซ้อนออโรไซยาไนด์จะถูกสกัดได้ดีกว่าสารเชิงซ้อนโลหะ-ไซยาโนท่ค่าพีเอชเป็นเบส มีการ
                                                                                            ี
                  ศึกษาการสกัดทองโดยใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ หรือโซเดียมไซยาไนด์ (NaCN) พบว่าประสิทธิภาพของ
                                                                                                   ำ
                                                                                       ำ
                                         ื
                               ึ
                             ิ
                                                                    ึ
                  การสกัดจะเพ่มข้นเล็กน้อยเม่อความเข้มข้นของรีเอเจนต์เพ่มข้น สาร Cyanex 921 ใช้สาหรับสกัดทองคาจากไซยาไนด ์
                                                                 ิ
                  ได้ทุกช่วงพีเอชซึ่งการมีลิเทียมไอออน (Li ) จะช่วยทำาให้การสกัดเกิดได้ดีขึ้นจากตัวกลางที่เป็นคลอไรด์ ในกรณีนี้
                                                     +
                  ความเข้มข้นของสารท่ใช้สกัดท่ต้องการน้น จะตากว่าท่ใช้ในตัวกลางท่เป็นไซยาไนด์มาก การสกัดนี้สามารถทาได ้
                                            ี
                                                    ั
                                    ี
                                                               ี
                                                                            ี
                                                                                                            ำ
                                                         ำ
                                                         ่
                  อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อมีน้ำาหรือโพแทสเซียมไซยาไนด์
                                                                                   ำ
                        การเติมแอมโมเนียลงไปจะมีอิทธิพลอย่างมากต่อการการสกัดทองคาจากสารละลายไทโอซัลเฟตด้วย
                  อัลคิลฟอสฟอรัสเอสเทอร์ โดยกลไกการสกัดที่มีหรือไม่มีแอมโมเนียนั้นแสดงได้ ดังนี้
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86