Page 93 - E-Waste
P. 93
C 1 2 3 4 5 6
89
ตารางที่�4.6� แนวทางการพัฒนาเทคนิคการแยกโลหะด้วยการชะละลายทางเคมีเพื่อฟื้นฟูสภาพโลหะจากขยะ
อิเล็กทรอนิกส์
โลหะที่นำามาฟื้นฟู ลักษณะสำาคัญของกระบวนการ ผลิตภัณฑ์หลัก ปี พ.ศ. เอกสาร
สภาพ อ้างอิง
ทองคำา (Au) นำาชิปของคอมพิวเตอร์มาบำาบัดในกรดไนตริกเพื่อละลาย เกล็ดทองคำา 2550 251
โลหะพื้นฐานออก นำากากที่เหลือมาชะด้วยกรดกัดทอง
และตกตะกอนด้วยเฟอร์รัสซัลเฟตเพื่อฟื้นฟูสภาพทองคำา
ทองคำา (Au) และ นำาขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่มีขนาด -0.5 มิลลิเมตร มาบำาบัดด้วย Au และ Ag 2550 252
เงิน (Ag) สารผสมของโพแทสเซียมไอโอไดด์ (KI) และไอโอดีน (I )
2
หรือโซเดียมคลอไรด์และผงฟอกขาว ใช้การสกัดด้วยตัวทำา
ละลายเพื่อฟื้นฟูสภาพทองคำาและเงิน
นิกเกิล (Ni) ชะนิกเกิลออกจากซากตัวเก็บประจุเซรามิกหลายชั้น Ni ในสารละลาย 2550 253
ด้วยกรดไฮโดรคลอริก 1 โมลาร์ ที่ 90 C เป็นเวลา 90 นาที
o
และที่สัดส่วนของเศษวัสดุ 5 กรัมต่อลิตร
ทองคำา(Au) (98%), ใช้กรดซัลฟิวริกและแมกนีเซียมคลอไรด์ เพื่อละลายโลหะพื้น Au และผง PGMs 2549 254
แพลเลเดียม (Pd) ฐานออกไป จากนั้นใช้กรดไฮโดรคลอริกและโบรไมด์ไอออน
(96%), แพลทินัม เพื่อละลายโลหะมีค่า ทำาซีเมนเทชันทองคำาโดยใช้ผงสังกะสี
(Pt) (92%), เงิน
(Ag) (84%)
ทองแดง (Cu) ละลายทองแดงด้วยกรดซัลฟิวริกหรือกรดกัดทอง และใช้ Cu 2549 255
(98%) กระบวนการทางไฟฟ้าเพื่อฟื้นฟูสภาพทองแดง
ทองแดง (Cu), ชะทองแดงด้วยกรดซัลฟิวริก ชะแพลเลเดียมด้วยคลอไรด์ AgCl, Cu, Pd, Au 2548 256
เงิน (Ag) (93%), ชะทองคำาและเงินด้วยไทโอยูเรียหรือไซยาไนด์ และใช้
แพลเลเดียม (Pd) แอคติเวเต็ดคาร์บอนเพื่อดูดซับทองคำา เงิน และแพลเลเดียม
(99%), ทองคำา
(Au) (93%)
ทองคำา (Au) ใช้กรดไฮโดรคลอริกและกรดซัลฟิวริกเพื่อละลายโลหะ gold sponge 2548 257
เงิน (Ag)และ พื้นฐานออกไป และใช้กรดไฮโดรคลอริกและโซเดียมคลอเรต
แพลเลเดียม (Pd) เพื่อชะเงินและแพลเลเดียมและชะทองคำาและแพลเลเดียม
92% ตกตะกอนทองคำา ด้วยเฟอร์รัสคลอไรด์ (FeCl )
2
ทองคำา (Au) นำาซากอิเล็กทรอนิกส์มาบำาบัดด้วยสารชะประเภทโซเดียม กากทอง 2547 258
คลอไรด์, คอปเปอร์(III)คาร์บอเนต (CuCO ) และกรด
ไฮโดรคลอริก 3
ดีบุก (Sn) และ ละลายโลหะบัดกรีด้วยสารละลายที่ประกอบด้วยไทเทเนียม Sn และ Pb 2546 259
ตะกั่ว (Pb) Ti(IV) และกรด และฟื้นฟูสภาพดีบุกและตะกั่ว กลับคืนมา
ได้โดยใช้กระบวนการทางไฟฟ้า