Page 96 - E-Waste
P. 96
92 E-waste เทคโนโลยีการจัดการซากแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
กระบวนการการแยกโลหะ� 5
ด้วยชีวภาพ�
บทที่�1 (biometallurgy)
�
บทที่
1
ี
ราวทศวรรษท่ผ่านมา ในแวดวงอุตสาหกรรมวัสดุและอุตสาหกรรมแร ่
่
ื
ี
ำ
ี
ิ
็
การรไซเคลโลหะโดยใช้เทคโนโลยีชวภาพ นับว่าประสบความสาเรจมาก เนองจาก
บริษัทต่างชาติขนาดใหญ่หลายแห่งให้ความสนใจเทคโนโลยีใหม่นี้ การทำาความ
ั
เข้าใจในกระบวนการทางชีวเคมีท่เก่ยวข้องในการบาบัดโลหะน้น มีผ้สนใจทำาการ
ู
ี
ำ
ี
ื
ำ
ำ
ู
ศึกษาไว้เม่อ 20 ปีก่อน ในปัจจุบันการวิจัยและพัฒนากาลังอย่ระหว่างการดาเนินการ
กับโลหะต่างหลายชนิดอาทิ ทองแดง (Cu), นิกเกิล (Ni), โคบอลต์ (Co),
สังกะสี (Zn), ทองคำา (Au) และเงิน (Ag) อย่างไรก็ตาม สำาหรับการรีไซเคิล
ื
ทองคาและเงินน้น จะใช้การชะแบคทีเรียเพียงเพ่อขจัดโลหะซัลไฟด์ท่ปะปนอย ่ ู
ำ
ี
ั
ออกจากสินแร่ที่มีโลหะมีค่า ก่อนนำาไปทำาการบำาบัดด้วยไซยาไนด์เท่านั้น
ำ
ี
ื
จุลินทรีย์ท้งหมดจะใช้โลหะเพ่อทาหน้าท่ในเชิงโครงสร้าง (structural
ั
function) และ/หรือทำาหน้าที่ในการเร่งปฏิกิริยา (catalytic function) วิธีการที่
ิ
จุลินทรีย์ทาปฏิกิริยากับโลหะจะข้นกับว่าส่งมีชีวิตน้นเป็นโปรคาริโอท (prokaryote)
ึ
ั
ำ
หรือยูคาริโอท (eukaryote) ซ่งจุลินทรีย์ท้งสองชนิดน้นมีความสามารถใน
ั
ึ
ั
้
ื
ั
้
ิ
่
ี
่
ั
การสรางพนธะกบไอออนโลหะทอยในสงแวดลอมภายนอกเขากบพนผวของเซลล ์
้
ั
่
ิ
้
ู
ู
ื
หรือสามารถส่งโลหะเหล่าน้นเข้าส่เซลล์เพ่อให้ทาหน้าท่ระหว่างเซลล์ต่างๆ
ี
ั
ำ
(intercellular function) การทาปฏิกิริยากันของโลหะ/จุลินทรีย์น้จะทาให้เกิด
ำ
ี
ำ
ความเป็นไปได้ในการรีไซเคิลโลหะแบบเลือก (selective) หรือแบบไม่เลือก
(non-selective) ได้